Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/2948
ชื่อเรื่อง: การจำลองการสังเคราะห์ก๊าซไฮโดรเจนโดยวิธีการปฏิรูปด้วยไอน้ำจากก๊าซชีวภาพ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The simulation of hydrogen production by steam reforming from biogas
Advisor : วรรณวิไล ไกรเพ็ชร์ เอวานส์
ผู้แต่ง: นิศรา รัตนานนท์
ณัฏฐณิชา ชูกุล
Keywords: ไฮโดรเจน--การสังเคราะห์
ไอน้ำ
ก๊าซชีวภาพ
วันที่เผยแพร่: 2552
Abstract(TH): โครงงานนี้ศึกษาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อจำลองกระบวนการปฏิรูปก๊าซชีวภาพ ด้วยไอน้ำ (Steam Biogas Reforming, SBR) เพื่อผลิตก๊าซไฮโดรเจนสำหรับใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงได้ ถูกสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม COMSOL MULTIPHYSICS™ 3.4 องค์ประกอบของก๊าซชีวภาพที่ ใช้ในแบบจำลองประกอบด้วยอัตราส่วนของ CH4:CO2 ดังนี้60:40, 70:30, 80:20, 90:10 และ100:0 อัตราส่วนของไอน้ำต่อมีเทน (S/C ratio) ได้มีการศึกษาอยู่ในช่วง 1 2 3 4 และ 5 อุณหภูมิที่ใช้ใน การจำลองได้แก่ 923 973 1,023 1,073 และ 1,123 เคลวิน ในการศึกษานี้พบว่าปฏิกิริยาการปฏิรูป ก๊าซชีวภาพด้วยไอน้ำจะผลิตไฮโดรเจนให้มีปริมาณมากที่สุดโดยมีเงื่อนไขอยู่ที่อัตราส่วนไอน้ำต่อ มีเทนเท่ากับ 3 และอุณหภูมิที่ใช้ในการทำปฏิกิริยาเท่ากับ 1023 เคลวิน ในทุกๆ อัตราส่วนของ CH4:CO2
บทคัดย่อ: The mathematical model of biogas-steam reformer to produce hydrogen for a fuel cell application was developed by using COMSOL MULTIPHYSICS™ 3.4 software. The simulated biogas has been studied in five CH4ะCO2 ratios which arc 60:40, 70:30. 80:20, 90:10 and 100:0. Steam to methane ratio (S / c ratio) was varied in the range of produce hydrogen 1-5 by increment of 1, and the studied operating temperature arc 923 973 1,023 1.073 and 1,123 K. From the simulation results, it was found that the hydrogen production will be maximized at operating condition of s/c ratio is 3 and temperature is 1023 K for all studied range of CH4:CO, ratio in biogas composition.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/2948
Appears in Collections:CheEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Nissara_R.pdf
  Restricted Access
13.91 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.