Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29726
Title: ศึกษาการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในเด็กยากจนและด้อยโอกาสของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) : กรณีศึกษาการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษาของครูประถมศึกษา ในโครงการครูรักษ์ถิ่น
Other Titles: THE STUDY TO REDUCE EDUCATIONAL INEQUALITIES IN POOR AND UNDERPRIVILEGED CHILDREN IN EQUITABLE EDUCATIONAL FUND(EEF): CASE OF LEARNING MANAGEMENT OF SOCIAL STUDIES OF PRIMARY SCHOOL TEACHERS IN THE KRURAKTHIN PROJECT
Authors: ชลวิทย์ เจียรจิตต์
พิมพ์ตะวัน จันทัน
วิไลลักษณ์ ลังกา
สรสัณห์ รังสิยานนท์
อัญชลี ศรีกลชาญ
สุวิมล เฮงพัฒนา
ประภาภรณ์ โรจน์ศิริรัตน์
Keywords: ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา
ครูประถมศึกษา
เด็กยากจน
ด้อยโอกาส
Inequalities in poor
underprivileged
Learning management of social studies
Primary school teachers
Poor and underprivileged
Issue Date: 2566
Abstract(TH): บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการยกระดับศักยภาพการดำเนินงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมด้านการศึกษาในกลุ่มเด็กยากจนและด้อยโอกาสของกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) 2) ศึกษาแนวการการจัดการเรียนรู้รายวิชาสังคมศึกษาของครูประถมศึกษา ทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านเป้าประสงค์การผลิตครูประถมศึกษาที่สอนรายวิชาสังคมศึกษาเพื่อท้องถิ่น ด้านการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาสำหรับเด็กยากจนและด้อยโอกาสและด้านการวัดและประเมินผล งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยการค้นคว้าวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มตัวอย่างใช้การเลือกแบบเจาะจง คือ ผู้บริหาร บุคลากร จากกองทุนความเสมอภาคทางการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการด้านการศึกษา จำนวน 26 คน ผลการวิจัยพบว่า การดำเนินงานของ กสศ. ในการสนับสนุนด้านการศึกษาเพื่อลดความเหลื่อมล้ำโดยการให้ทุนการศึกษาและสร้างโอกาสทางการศึกษาให้เด็กยากจนและด้อยโอกาส การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา ของครูประถมศึกษาโดยการเข้าใจและให้โอกาสในการเรียนรู้แก่ผู้เรียน กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน พัฒนาทักษะความเป็นพลเมือง จัดกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ท้องถิ่นเป็นฐาน ใช้สื่อที่หาได้ง่ายและมีวิธีการประเมินผลที่ชัดเจน
Abstract: Thisresearcharticleis part of my research. A Study on the Guidelines for Enhancing the Operational Potential of the Equitable Education Fund (EEF)aims to: 1) promote education in poor and underprivileged children of the Equitable Education Fund. 2) The way of learning management of primary school teachers in the KrurakthinProject consisted of three parts; objective of creating primary school teachers to teach social studies subjects in the local area, learning social studies in poor and underprivileged children, and evaluation. This research is qualitative; the methodologies used are in-depth interviews and semi-structured interviews. The sample used in purposive sampling were experts and expert educational academics, including 26 people. Results found that: 1) the operation of EEF in support of education reduces inequality by providing scholarships and creating educational opportunities for poor and underprivileged children in social studies teaching in primary school teachers understanding and providing learning opportunities for students. Set clear objectives. Develop citizenship skills. Organize the learning process using local areas as a base. Use media that are easily available and have a clear evaluation method.
URI: https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JMSD/article/view/269151
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29726
Appears in Collections:Soc-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.