Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29636
Title: การปรับปรุงสายการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ : กรณีศึกษา บริษัท ไทยซัมมิท โกลด์ เพรส จำกัด
Other Titles: Improvement of automobile parts production line : a case study of Thai Summit Gold Press co., ltd
Advisor : สิรเดช ชาตินิยม
Authors: ณัฐริกา เมืองมา
พิมพ์นุสร ทวีวัฒนานนท์
Keywords: ระบบลีน
ชิ้นส่วนยานยนต์
Issue Date: 2562
Publisher: สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): โครงงานวิศวกรรมนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงสายการผลิต Body Comp, Muf FR เป็นการไหลแบบทีละชิ้น ให้กำลังการผลิตเพิ่มมากขึ้น การศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลเฉพาะในสายการผลิต Body Comp, Muf FR ทั้งในแผนกปั๊ม และแผนกเชื่อมประกอบ ทำการวิเคราะห์ความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการโดยใช้แผนผังสายธารคุณค่า (VSM) สถานะปัจจุบัน จากนั้นนำเครื่องมือของระบบลีนมาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงสายการผลิตให้เป็นไปตามแนวคิดการไหลทีละชิ้น ใช้แผนภูมิกระบวนการไหลในการวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงาน และประยุกต์แนวคิด ECRS ช่วยในการลดความสูญเปล่าในกระบวนการ รวมถึงออกแบบแผนผังใหม่เพื่อให้กระบวนการผลิตเป็นไปตามแนวคิดไหลทีละชิ้น นอกจากนี้ยังจัดทำคัมบังเพื่อการสื่อสารข้อมูลในสายการผลิต พบว่าสามารถลดเวลาในการปฏิบัติงานจาก 80.16 วินาทีเป็น 46.3 วินาที ลดเวลาในการขนส่งจาก 24.95 วินาทีเป็น 6.34 วินาที ส่งผลให้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 480 เป็น 560 ชิ้นต่อวัน คิดเป็น 16.67% และการลดพื้นที่การใช้งานได้ 63 ตารางเมตร
Abstract: This engineering project aims at converting the current Body Comp Muf FR production line to be operated based on the concept of One Piece Flow, and increases its production capacity. Firstly, production sequences of the product, that consists of press line and assembly and welding line, are outlined. Seven wastes are analyzed theoretically using Value Stream Mapping (VSM). Then, lean tools are applied to make changes to the production line to the One Piece Flow system. Flow process charts and ECRS techniques are subsequently applied to analyze steps of the process and to reduce wastes in the new process. The layout of line section, assembly and welding stations, are relocated so as to allow the best of continuous single piece flow. In addition, kanban concept is implemented to all stations, as a visualized signal, for managing the flow and at the same time balancing the demand. Final experiment reveals that the operation time is reduced from 77 seconds to 46.3 seconds, while the average transportation time is reduced from 24.95 seconds to 6.34 seconds. The overall capacity is therefore scaling up by 16.67%, to 560 pieces per day. The area utilization of the line is increased at around 50%.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29636
Appears in Collections:IndEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Nuttharika_M.pdf
  Restricted Access
4.02 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.