Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29633
Title: การออกแบบเครื่องติดฉลากทินเนอร์กึ่งอัตโนมัติ
Other Titles: Design of labeler semi-automatic machine
Advisor : รัฐวุฒิ วงษ์วิทย์
วราธร ปัญญางาม
Authors: นันทิชา บัวเกตุ
สัตตบุษย์ รัตนกันทา
Keywords: การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์
เครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติ
Issue Date: 2562
Publisher: สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): โครงงานวิศวกรรมฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติในผลิตภัณฑ์ประเภททินเนอร์ขวดแก้ว การศึกษาสภาพโดยรวมในกระบวนการผลิตพบว่าหัวจ่ายทินเนอร์ชนิดขวด ในปัจจุบันยังมีขั้นตอนกระบวนการการทำงานด้วยแรงงานคนและมีข้อจำกัดในการทำงานดังกล่าวคือเมื่อพนักงานทำงานเป็นเวลานานทำให้เกิดภาวะเมื่อยล้าขึ้น ส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดพลาด เช่น ฉลากพับ ฉลากติดไม่ตรงตำแหน่งที่เหมาะสม เป็นต้น ซึ่งขั้นตอนการติดฉลากเป็นขั้นตอนสำคัญที่ช่วยเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ กระบวนการติดฉลากจึงถือเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญไม่แพ้ขั้นตอนอื่น ๆ และมีความจำเป็นที่ต้องใส่ใจรายละเอียดของกระบวนการเพื่อรูปลักษณ์ของสินค้าที่มีคุณภาพ ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกพิจารณาการออกแบบเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติชนิดขวด เพื่อลดเวลาในกระบวนการติดฉลากผลการดําเนินงานหลังจากศึกษาออกแบบโดยอาศัยหลักการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ และดำเนินการออกแบบจําลองเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติ จากนั้นนำข้อมูลคุณลักษณะจำเพาะมาเปรียบเทียบ เพื่อสรุปการเลือกอุปกรณ์ที่นำมาใช้เป็นวัสดุของเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติ สรุปได้ว่าการทำงานของ พนักงานก่อนการออกแบบเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติพนักงานใช้เวลา 9.5 วินาที/ขวด หลังจากออกแบบเครื่องติดฉลากกึ่งอัตโนมัติ ใช้เวลา 5 วินาที/ขวด ซึ่งใช้เวลาลดลง 4.5 วินาที/ขวด คิดเป็นร้อยละ 47.37
Abstract: This engineering project aims to design a semi-automatic labeling machine in a thinner glass bottle. The most problem in the production process found that bottle thinner. In present, the process of working with human labor and limit in working such as when employees work for a long-time causing fatigue condition. Results operations incorrect such as the label not folded right position etc. The labeling process is an important value to the product. Therefore, the necessary attention to detail process for the appearance of quality products. Then, the researcher chose to consider creating and designing a semi-automatic labeling machine of bottle type thinner. To reduce the time in the labeling process. The result of design based on product design and development principles and proceed the design of a semi-automatic labeling machine. Then, compare specifications to compare the equipment of the semi-automatic labeling machine. In conclusion, Employee work before designing the semi-automatic labeling machine, the employee took 9.5 seconds / bottle, after the semi-automatic labeling machine design took 5 seconds / bottle, reduced from 4.5 seconds / bottle, accounted for 47.37 percent.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29633
Appears in Collections:IndEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Nunticha_B.pdf
  Restricted Access
9.49 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.