Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29041
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธานินทร์ ดวงจันทร์th_TH
dc.contributor.authorณัฐรดี ชนมนัสth_TH
dc.contributor.authorผกามาศ บัวมาศth_TH
dc.contributor.authorพิสิษฐ์ นุตระth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T08:57:21Z-
dc.date.available2023-11-06T08:57:21Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29041-
dc.description.abstractThis engineering project aims to study and design an application program for quality checking of water, for use in both household and agricultural purposes. It utilizes an ESP32 microcontroller to detect pH levels, electrical conductivity, turbidity of water, and connects wirelessly to transmit data to a Firebase database and application program. The collected data is processed to classify water into three categories: 1. Drinking water 2. Agricultural water and 3. Wastewater. The results of the experiments showed that the water sources had varying levels of pH and electrical conductivity. For example water source 1 from a tap water supply had a pH error of 1.782% and electrical conductivity error of 5.746%, while water source 2 from a building engineering area had a pH error of 2.118% and electrical conductivity error of 6.375%. Water source 3 from a temple building area had a pH error of 2.058% and electrical conductivity error of 12.483%.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการตรวจสอบคุณภาพน้ำของแหล่งน้ำธรรมชาติth_TH
dc.title.alternativeWater quality monitoring of natural water sourcesth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordตัวตรวจรู้สภาพแวดล้อมth_TH
dc.subject.keywordคุณภาพของน้ำth_TH
dc.description.abstractthaiโครงงานวิศวกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบการทำงานโปรแกรมประยุกต์การตรวจสอบคุณภาพของน้ำ เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านอุปโภคและด้านการเกษตรกรรมใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ อีเอสพี 32 ตรวจจับค่าที่ได้จากตัวตรวจรู้ค่าเป็นความกรด-ด่าง ตัวตรวจรู้วัดค่าการนำไฟฟ้าและตัวตรวจรู้วัดความขุ่นของน้ำ เชื่อมต่อการสื่อสารสัญญาณไร้สาย และส่งค่าข้อมูลขึ้นฐานข้อมูลไฟร์เบสและโปรแกรมประยุกต์ จะนำค่าที่มีในฐานข้อมูลไปจัดการเป็นการทำงานดังนี้ แสดงข้อมูลการจำแนกประเภทของน้ำออกเป็น 3 ประเภท 1.น้ำสำหรับอุปโภค 2.น้ำสำหรับการเกษตร 3.น้ำเสีย จากผลการทดลอง ตัวอย่างแหล่งน้ำที่ 1 แหล่งน้ำประปา พบความผิดพลาดของความเป็นกรด-ด่าง คือ 1.782% และพบความผิดพลาดการนำไฟฟ้า คือ 5.746% ตัวอย่างแหล่งน้ำที่ 2 แหล่งน้ำบริเวณตึกวิศวกรรมศาสตร์ พบความผิดพลาดของความเป็นกรด-ด่าง คือ 2.118% และพบความผิดพลาดการนำไฟฟ้า คือ 6.375% ตัวอย่างแหล่งน้ำที่ 3 แหล่งน้ำบริเวณหอพระ พบความผิดพลาดของความเป็นกรด-ด่าง คือ 2.058% และพบความผิดพลาดการนำไฟฟ้าคือ 12.483%th_TH
Appears in Collections:EleEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Nutradee_C.pdf
  Restricted Access
5.64 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.