Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28495
Title: การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานและวิจัยเป็นฐาน ในวิชาวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Other Titles: Development of Project-Based and Research-Based Learning Model in a Science Course for Upper Secondary Students
Authors: นิลาวรรณ ทรงครุฑ
สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
วันเพ็ญ ประทุมทอง
Keywords: การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน
Learning Model
Project-based Learning
Research-Based Learning
Issue Date: 2560
Abstract(TH): การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานและวิจัยเป็นฐาน และ 2) ศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานและวิจัยเป็นฐาน โดยมีขั้นตอนการดาเนินการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 สร้างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และระยะที่ 2 ศึกษาความเป็นไปได้ของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 25 คน โรงเรียนตะคร้อพิทยา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเขต 3 จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งได้มาจากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานและวิจัยเป็นฐาน ประกอบด้วยขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาเค้าโครงร่างของโครงงานวิทยาศาสตร์ มี 6 ขั้นตอนย่อย คือ 1.1 เร้าความสนใจ 1.2 ทบทวนประสบการณ์ 1.3 ระบุปัญหา 1.4 คัดสรรแนวทางและวางแผนแก้ปัญหา 1.5 ออกแบบเค้าโครง 1.6 นาเสนอ (แนวทางการจัดการเรียนรู้การวิจัยเข้าร่วม) ระยะที่ 2 การปฏิบัติการทาโครงงาน และ ระยะที่ 3 การนาเสนอผลงาน โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีความสอดคล้องกันทุกองค์ประกอบมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 ตามทัศนะของผู้เชี่ยวชาญ 2. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นโครงงานและวิจัยเป็นฐาน มีความสามารถในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับผ่านเกณฑ์ที่กาหนด (ร้อยละ 60)
Abstract: This research aimed to: 1) develop project-based and research-based learning model and 2) explore the possibility of project-based and project-based learning model. Two phases of the study comprised phase 1: learning model formulation and phase 2: feasibility study of the learning model. Samples in the experiment were 25 grade 10 students from Takropittaya School of the Nakhonsawan Primary Educational Service Area Office 3. The sample was selected by purposive sampling. Research findings indicated that: 1. Project-based and research-based learning model consisted of 3 phases of learning process. Phase 1 comprised blueprint development of science project. It incorporated six stages: 1.1 raising the interest, 1.2 reviewing the experience, 1.3 identifying the problem, 1.4 selecting and planning for the solution, 1.5 outlining the plan, and 1.6 proposing (the jointed learning research approach). Phase 2 involved project implementation, and phase 3 engaged result presentation. The learning model was consistent with all components with an average between of 0.67-1.00 according to the expert’s opinion. 2. Students who enrolled in the project-based and research-based learning model achieved the required competence on science project implementation (60 percent).
Description: รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน 2560
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28495
Appears in Collections:EdSLM-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Edu-Con-Nilawan-S-smart7.pdf850.37 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.