Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28451
Title: พัฒนาการการจัดการงานราชทัณฑ์ (พ.ศ. 2433-2479)
Other Titles: The Revolution of Correctinal Management (1890-1936)
Authors: พินทุสร เรืองยังมี
ณัฐพร ไทยจงรักษ์
Keywords: ราชทัณฑ์
พัฒนาการ
การจัดการ
Corrections
Development
Management
Issue Date: 2562
Abstract(TH): งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการการจัดการงานราชทัณฑ์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2433 ถึง พ.ศ. 2479 ในฐานะหน่วยงานราชการหนึ่งของกระบวนการยุติธรรมที่มีส่วนสำคัญในการสร้างภาพลักษณ์ให้กับประเทศ บนพื้นฐานการเปลี่ยนแปลงตามแบบตะวันตก และผลจากการปฏิรูปทำให้โครงสร้างของหน่วยงานเกิดความเป็นปึกแผ่น มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ที่แสดงให้เห็นว่าการคุก การตะราง มีความสำคัญในการเป็นเครื่องมือของรัฐที่ใช้ในการจัดการปกครองราษฎร์ จากการศึกษาในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้หลักฐานชั้นต้น เอกสาร หนังสือและสื่อสิ่งพิมพ์ของกรมราชทัณฑ์เป็นหลัก งานชิ้นนี้จึงมีลักษณะแสดงมุมมองภาพลักษณ์จากรัฐเพียงด้านเดียว และพบว่าพัฒนาการการจัดการงานราชทัณฑ์ที่เน้นระเบียบแบบแผนให้สอดคล้องกับการปฏิรูปประเทศกลับประสบปัญหา เนื่องจากงานราชทัณฑ์มีลักษณะการจัดการแตกต่างไปจากกรมกองอื่นๆ ทั้งบริบททางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง ทาให้งานด้านการราชทัณฑ์มีการยุบเลิก จัดตั้งและย้ายกรม กองอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้งการปฏิรูปงานราชทัณฑ์ประสบกับข้อจากัดและความยุ่งยากต่าง ๆ เช่น การขาดแคลนบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ระบบบริหารราชการแบบรวมศูนย์ไม่มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการขาดแคลนงบประมาณในการปฏิรูป เป็นต้น ทาให้การศึกษาพัฒนาการการจัดการงานราชทัณฑ์ในช่วงเวลาดังกล่าว ถือเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ก่อนที่งานราชทัณฑ์จะมีความมั่นคงในเวลาต่อมา
Abstract: This research studies the development of corrections management in 1890 to 1936 as a government agency of justice. Important In creating a brand image for the country based on Western-style changes and the results of the reform make the structure of the agency solidarity orderly and neat shows that prison and jail are important in being a state tool used to manage the government. From this study. The researcher uses early evidence, document, book and main publications from the Department of Corrections. This work therefore shows the perspective and image only one side. And found development of corrections management emphasize order and pattern in accordance with the country reform but experiencing problems due to corrections have a different management style than other agencies. With social, economic, political and administrative context. Causing corrections to be dissolved, establish and move often. Corrections reform suffer limitation and difficulties such as lack of budget, individuals lack knowledge, ability public administration system centralized not one and lack of budget for reform. Making corrections management during this time is a cumbersome before correction work is stable.
Description: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28451
Appears in Collections:His-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
His-Con-Pintusorn-R-smart9.pdf807.53 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.