Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27777
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิทธินันท์ ท่อแก้วth_TH
dc.contributor.advisorสมมาส แก้วล้วนth_TH
dc.contributor.authorบุปผา เจียวพ่วงth_TH
dc.contributor.authorสุทธดา จงโปร่งกลางth_TH
dc.date.accessioned2023-01-11T08:27:19Z-
dc.date.available2023-01-11T08:27:19Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27777-
dc.description.abstractThe aims of this engineering project were to study the effect of Fe (III) - EDTA concentration on the removal of hydrogen sulfide in biogas. In this experimental, the concentration of Fe (III) used in the range of 0.10 - 0.35 mol/L, the mole ratio of iron and EDTA was 1 : 1.2 and hydrogen sulfide concentration in biogas were in the range of 3.700 - 4.200 mg/m\ The result of this experimental was found that the removal of hydrogen sulfide in biogas was increased with increasing the concentration of Fe (III). After hydrogen sulfide absorption reaction, Fe (III) solution was regenerated by using the air bubbling flow rate was 500 ml/min for 120 min. It was observed that the used - Fe (III) solution was as effective as the new prepared - Fe (III) solution. In addition, the stable efficiency of the removal of hydrogen sulfide can be used the biogas bubbling together with the air bubbling in the ratio between flow rate of biogas and flow rate of air was 80 : 150.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleอุปกรณ์การกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์อย่างง่ายth_TH
dc.title.alternativeSimple apparatus of hydrogen sulfide removalth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์th_TH
dc.subject.keywordเหล็กth_TH
dc.description.abstractthaiโครงงานวิศวกรรมนี้เป็นการศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายเหล็ก (III) อีดีทีเอต่อการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพ สารละลายเหล็ก (III) อีดีทีเอที่ใช้มีความเข้มข้นของเหล็ก (III) ในช่วง 0.10 - 0.35 โมลต่อลิตร อัตราส่วนโดยโมลของเหล็กต่ออีดีทีเอเป็น 1 ต่อ 1.2 และความเข้มข้นของก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพอยู่ในช่วง 3.700 - 4,200 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ผลการทดลองพบว่าการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในก๊าซชีวภาพเพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของสารละลายเหล็ก (III) เพิ่มขึ้น หลังทำปฏิกิริยาการดูดซึมก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์สารละลายเหล็ก (III) จะถูกฟื้นฟูสภาพโดยการพ่นอากาศที่อัตราการไหล 500 มิลลิลิตรต่อนาที เป็นเวลา 120 นาที จะเห็นได้ว่าสารละลายเหล็ก (III) หลังการใช้งานมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับสารละลายเหล็ก (III) ที่เตรียมใหม่ นอกจากนการทำให้ประสิทธิภาพในการกำจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์มีค่าคงที่ สามารถทำได้โดยการพ่นก๊าซชีวภาพพร้อมกับการพ่นอากาศในอัตราส่วนระหว่างอัตราการไหลของก๊าซชีวภาพต่ออัตราการไหลของอากาศเป็น 80 ต่อ 150th_TH
Appears in Collections:IndEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Bubpha_J.pdf
  Restricted Access
23.64 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.