Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22470
Title: การกำจัดไอออนโลหะหนักโดยเปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพด้วยสารเคมี
Other Titles: Removal of heavy metal ions by chemical modified sunflower seed husks
Advisor : ศิริวรรณ ศรีสรฉัตร์
Authors: พรพิมล บุญถึง
ภาวินี จิตรถนอม
Keywords: โลหะหนัก
ไอออนโลหะ -- การกำจัด
Issue Date: 2555
Publisher: ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาการดูดซับของโลหะหนักเดี่ยว 4 ชนิด ได้แก่ นิกเกิล(II) สังกะสี(II) ตะกั่ว(II) และแคดเมียม(II) โดยใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพด้วย สารเคมีได้แก่ โปแทสเซียมคาร์บอเนต และซิงค์คลอไรด์ เผาแบบจำกัดอากาศเป็นวัสดุดูดซับ จากการทดลองการดูดซับแบบกะ ศึกษาผลของอุณหภูมิที่ใช้เผาในช่วง 400 ถึง 700 องศาเซลเซียส ความเข้มข้นของสารกระตุ้นตั้งแต่ 0.4 ถึง 1.2 โมลาร์ พบว่าวัสดุดูดซับปรับสภาพด้วยโปแทสเซียม คาร์บอเนตสามารถดูดซับตะกั่ว(II) นิกเกิล(II) สังกะสี(II) และแคดเมียม(II)ได้สูงสุดเมื่อเมื่อเปลือก เมล็ดทานตะวันกระตุ้นด้วยโปแทสเซียมคาร์บอเนตเข้มข้น 0.8 โมลาร์ เผาที่อุณหภูมิ 500 องศา เซลเซียส มีค่าการกำจัดร้อยละ 99.61 98.07 98.75 และ 92.99 ตามลำดับ วัสดุดูดซับปรับสภาพด้วย ซิงค์คลอไรด์สามารถดูดซับไอออนตะกั่ว(II) สังกะสี(II) แคดเมียม(II) และ นิกเกิล(II) ได้สูงสุดเมื่อ เปลือกเมล็ดทานตะวันกระตุ้นด้วยซิงค์คลอไรด์เข้มข้น 0.8 โมลาร์ เผาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส โดยมีค่าการกำจัดร้อยละ 75.68 51.79 28.07 และ 50.33 ตามลำดับ ซึ่งมีค่าการกำจัดต่ำกว่าการใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันไม่ปรับสภาพ เผาที่อุณหภูมิ 500 องศาเซลเซียส มีค่าความสามารถดูดซับสูงสุดตามแบบจำลองแลงเมียร์ของการดูดซับตะกั่ว(II) สังกะสี(II) แคดเมียม(II) และนิกเกิล(II)เท่ากับ 19.92 18.56 19.76และ 19.62มิลลิกรัมต่อกรัมตามลำดับ และมีค่าคงที่ในการดูดซับเป็น 0.16400.1585 0.1005 และ 0.1918 ลิตรต่อมิลลิกรัมตามลำดับ
Abstract: This chemical engineering project entitled “Removal of heavy metal ions by chemical modified sunflower seed husks” was studied in batch experiment. Sunflower seed husks were modified by chemical activation; potassium carbonate and zinc chloride solution, then followed by carbonization. The concentration of both chemicals was varied between 0.4 and 1.2 M, the temperature was ranged from 400 to 700 °C. The metal ions used in this experiment were lead(II) nickel(II) zinc(II) and cadmium(II) with 200 mg/g initial concentration. From our experimental data showed that the 0.8 M potassium carbonate and zinc chloride gave the optimum metal ions removal. The maximum removal of lead(II) nickel(II) zinc(II) and cadmium(II) ions was occurred by 500 ๐C-K2co3 modified husks with 99.61, 98.07, 98.75 and 92.99 percent respectively. Furthermore in zinc chloride activation, 400 °C-ZnCl-» modified husks showed the maximum removal of lead(Il) nickel(II) zinc(II) and cadmium(Il) ions with the value of 75.68, 51.79, 28.07 and 50.33 percent respectively. The adsorption process conformed to the Langmuir adsorption isotherms with the maximum adsorption of lead(II) nickel(II) zinc(II) and cadmium(II) with 19.92, 18.56, 19.76 and 19.62 mg/g respectively and Kl of 0.1640, 0.1585, 0.1005 and 0.1918 L/mg respectively.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22470
Appears in Collections:CheEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Pornpimon_B.pdf
  Restricted Access
13.47 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.