Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29737
Title: การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เมืองของไทย และต่างประเทศ
Other Titles: A COMPARATIVE STUDY OF ELDERS’ LIFESTYLE IN URBAN AREAS OF THAILAND AND FOREIGN COUNTRIES
Authors: จารุวรรณ ขำเพชร
Keywords: ผู้สูงอายุ
นวัตกรรม
คลองเตย
Elderly
Innovation
Khlong-toei
Issue Date: 2565
Abstract(TH): การศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเชิงเปรียบเทียบการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนคลองเตยกับผู้สูงอายุในต่างประเทศ และเพื่อศึกษาการใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมด้านการสร้างที่พักอาศัยในเมือง ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวิธีการศึกษา การเก็บข้อมูลจากเอกสาร ในเรื่องประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชนทั้งในเชิงเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม การเก็บข้อมูลการลงพื้นที่ภาคสนาม การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้สูงอายุในชุมชน พื้นที่ศึกษาพื้นที่เมืองคือชุมชนคลองเตย ล็อค 19-22 ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนคลองเตยเป็นตำนานของชุมชนแออัดของประเทศไทย ความเป็นมาของชุมชนแห่งนี้กับการก่อสร้างท่าเรือ จากการเวนคืนที่ดินตำบลคลองเตยและบางจาก เพื่อใช้ในกิจการขนส่งทางเรือ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2486 และต่อมาได้ยกระดับเป็นการท่าเรือแห่งประเทศไทย การใช้ชีวิตของผู้สูงอายุในชุมชนคลองเตย ล็อค 19-22 ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนแฟลตในห้องของตน และมาร่วมกิจกรรมส่วนรวมเฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น การศึกษาลักษณะการใช้ชีวิตโดยใช้นวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุที่คลองเตยหากเทียบกับลักษณะการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุที่อาศัยในเมืองของต่างประเทศ พบว่ามีนวัตกรรมที่ช่วยในการใช้ชีวิตได้มากกว่าได้แก่ที่พักอาศัย และเครื่องมือที่ช่วยการสัญจรให้สะดวกขึ้น แต่ความเป็นชุมชนคลองเตยที่ยังคงมีทุนชุมชนเป็นรากฐานสืบเนื่องถึงปัจจุบัน
Abstract: The objectives of the study were to compare the lifestyle of elders who lived in Khlong-toei area with the lifestyle of elders who lived in overseas and to study innovation that were suitable for housing construction in urban areas. The methodology was Qualitative, field Research, collecting data from document related to history of community, in terms of socio-economy and culture. The field research was used to collect data through participant observation including in-depth interviewing the elders. The Block 19-22 of Khlong-toei community was used as the unit of the study. Findings were that Khlong-toei community was one of Thailand’s historical slum areas. The history of community was related to the construction of Port and the expropriation of land at Khlong-toei and Bang-Chak sub-districts. The port was constructed for Sea Freight purposes and later was promoted to be ‘Port Authority of Thailand’. The elders living in the area mainly stayed in their rooms and only participated in necessary activities. After comparing the lifestyle based on the innovations supported elders between Thailand and foreign countries, the study was found that the efficient innovations that helped elders to live safely were housing tools and transportation aids. However, Khlong-toei community had a community capital which has been the strong foundation of the community until today.
URI: https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/258796
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29737
Appears in Collections:Soc-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.