Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29017
Title: การจำแนกบริเวณเลือดในทางเดินอาหารจากภาพถ่ายกล้องแคปซูลไร้สายด้วยวิธีการ K-Means Clustering, วิธีการK-nearest neighbor และวิธีการจัดกลุ่มข้อมูลด้วยค่าสี RGB
Other Titles: Segmentation of gastrointestinal blood from a wireless capsule endoscopy by k-mean clustering, k-nearest neighbor and grouping data with RGB color values
Advisor : ฑีฆพันธุ์ เจริญพงษ์
Authors: ศิริลักษณ์ สกุลเจริญชัยยะ
อารียา สีบุตรดา
Keywords: กล้องแคปซูลไร้สาย
Issue Date: 2565
Publisher: ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): ปัจจุบันเทคโนโลยีกล้องแคปซูลไร้สายได้ถูกนำมาใช้ในทางการแพทย์ มีหน้าที่ถ่ายภาพของระบบ ทางเดินอาหารและกล้องแคปซูลไร้สายจะสามารถถ่ายภาพจำนวนมาก ซึ่งทำให้ยากต่อการวิเคราะห์ด้วย ดวงตา ดังนั้นในงานวิจัยนี้ขอเสนอวิธีการจำแนกส่วนที่มีเลือดออกโดยอัตโนมัติ 3 วิธี ได้แก่ วิธีการ K-Mean Clustering ประกอบด้วยก่อนทำ Color Thresholder และหลังทำ Color Thresholder วิธีกา รK-Nearest Neighborhood (KNN) และวิธีการจัดกลุ่มข้อมูลด้วยค่าสี RGB ที่ใช้ในการจำแนกพื้นที่ที่มีเลือดออก และจะ ใช้วิธี confusion matrix ในการทดสอบประสิทธิภาพ ซึ่งผลลัพธ์ของระบบประกอบด้วยก่อนทำ Color Thresholder หลังทำ Color Thresholder KNN และวิธีการจัดกลุ่มข้อมูลด้วยค่าสี RGB และเมื่อทำการ วิเคราะห์สถิติขั้นพื้นฐานพบว่ามีค่า Intersection over Union (loU) ที่ใช้ในการวัดประสิทธิภาพของโมเดล ร้อยละ 51.18, 59.64, 43.06, 61.88 ตามลำดับ เมื่อเปลี่ยนชุดข้อมูลรูปภาพผลลัพธ์ของระบบประกอบด้วย ก่อนทำ Color Thresholder หลังทำ Color Thresholder และวิธีการจัดกลุ่มข้อมูลด้วยค่าสี RGB ดังนี้ ค่า Intersection over Union (loU) ที่ใซ้ในการวัดประสิทธิภาพของโมเดลร้อยละ 15.77, 19.77, 46.22 ตามลำดับ จากการทดลองประสิทธิภาพของทั้ง 2 กลุ่มข้อมูลแสดงให้เห็นได้ว่าประสิทธิภาพสูงสุดคือวิธีการจัด กลุ่มข้อมูลด้วยค่าสี RGB เนื่องจากเป็นการจำแนกบริเวณเลือดที่เฉพาะเจาะจง ทำให้ค่า RGB ในวิธีการนี้มีช่วง ของค่าสีที่ครอบคลุมมากกว่าวิธีการอื่น ๆ
Abstract: Wireless capsule endoscopy has now been used in medicine to take pictures of the gastrointestinal tract. The wireless capsule camera takes many pictures, which makes it difficult to analyze with the naked eye. Therefore, in this paper, three methods of automatic classification of bleeding areas were proposed: K-Mean Clustering, consisting of before color Thresholder and after Color Thresholder, KNN, and Clustering methods. RGB color values were used to classify the bleeding area, and a confusion matrix was used to test the efficiency. The results of the system consisted of the before color Thresholder, after Color Thresholder, KNN, and grouping data by RGB color values, It was found that the loU was used to measure the performance , each of which scored 51.18%, 59.64%, 43.06%, and 61.88%, respectively. When changing the image dataset, the results of the system consisted of the before color Thresholder, after Color Thresholder, and grouping data method by RGB color values as follows, loU scored 15.77%, 19.77%, and 46.22%, respectively. Based on the performance experiments conducted on the two data groups, it was demonstrated that the RGB color data grouping method was the most efficient. As it pertains to a specific classification of blood regions, this method's RGB values encompass a more comprehensive range of color values than other methods.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29017
Appears in Collections:BioEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Sirilak_S.pdf
  Restricted Access
13.47 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.