Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22274
Title: ชุดของโอลิโกนิวคลีโอไทด์ และดีเอ็นเออะนาล็อกสังเคราะห์ วิธีการตรวจสารพันธุกรรม และชุดตรวจสารพันธุกรรม สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโรคเหี่ยวจากเชื้อไวรัส (Pineapple mealybug wilt-associated viruses (PMWaV))
Assignee: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Inventors: ธงชัย แก้วพินิจ
ณภัทร โพธิ์วัน
กฤติญา แสงภักดี
โกสุม จันทร์ศิริ
สมชาย สันติวัฒนกุล
อินทาวุธ สรรพวรสถิตย์
Keywords: สิทธิบัตร
Issue Date: 2561
Publisher: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
Abstract(TH): การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการป้องกันโรคเหี่ยวของสับปะรด (Pineapple wilt disease) ที่มี สาเหตุมาจากเชื้อไวรัส Pineapple mealybug wilt associated viruses (PMWaV) โดยเริ่มจากการ ออกแบบไพรเมอร์ 4 ตัว ที่ออกแบบจากลำดับเบสของยีน Cellular heat shock protein 70 homologue เรียกว่ายีนเซลลูลาร์ ฮีท ช็อก โปรตีน 70 โฮโมโลกิว (Cellular heat shock protein 70 homologue) หรือ เรียกว่ายีนเอชเอสพี 70 หรือ HSP70 ของไวรัส PMWaV ซึ่งในระบบนี้อาร์เป็นเอ (RNA) เป้าหมายจะ ถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ 63 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ผลการวิจัยพบว่าเทคนิคอาร์ที- แลมป์ (RT-LAMP) มีความไวในการตรวจสอบไวรัส PMWaV มากกว่าการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซี อาร์ (PCR) ต่อจากนั้นทำการออกแบบตัวตรวจจับ (probe) ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของผลผลิต RT- LAMP ที่ได้ แล้วทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการตรวจสอบผลผลิตของ RT-LAMP ที่ได้บนแผ่นแอล เอฟดี (LFD) แทนการตรวจสอบด้วยวิธีการแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้า (gel electrophoresis) ซึ่งจะใช้เวลาอีกเพียง 5-10 นาทีเท่านั้น ------------ การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับการป้องกันโรคเหี่ยวของสับปะรด (Pineapple wilt disease) ที่มี สาเหตุมาจากเชื้อไวรัส Pineapple mealybug wilt associated viruses (PMWaV) โดยเริ่มจากการ ออกแบบไพรเมอร์ 4 ตัว ที่ออกแบบจากลำดับเบสของยีน Cellular heat shock protein 70 homologue เรียกว่ายีนเซลลูลาร์ ฮีท ช็อก โปรตีน 70 โฮโมโลกิว (Cellular heat shock protein 70 homologue) หรือ เรียกว่ายีนเอชเอสพี 70 หรือ HSP70 ของไวรัส PMWaV ซึ่งในระบบนี้อาร์เป็นเอ (RNA) เป้าหมายจะ ถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ 63 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ผลการวิจัยพบว่าเทคนิคอาร์ที- แลมป์ (RT-LAMP) มีความไวในการตรวจสอบไวรัส PMWaV มากกว่าการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซี อาร์ (PCR) ต่อจากนั้นทำการออกแบบตัวตรวจจับ (probe) ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของผลผลิต RT- LAMP ที่ได้ แล้วทดสอบสภาวะที่เหมาะสมในการตรวจสอบผลผลิตของ RT-LAMP ที่ได้บนแผ่นแอล เอฟดี (LFD) แทนการตรวจสอบด้วยวิธีการแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้า (gel electrophoresis) ซึ่งจะใช้เวลาอีกเพียง 5-10 นาทีเท่านั้น
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22274
Appears in Collections:Patents

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
patent1701001528.pdf1.05 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.