Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22170
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจารุวรรณ ขำเพชรth_TH
dc.date.accessioned2022-06-20T01:18:22Z-
dc.date.available2022-06-20T01:18:22Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22170-
dc.identifier.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/94962/74193-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ย่านสุขุมวิทมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเป็นพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของย่านสุขุมวิท ช่วงพร้อมพงษ์ เป็นการศึกษาโดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยวิธีการศึกษาคือการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participant observation )และการสัมภาษณ์เจาะลึก (In-depth interview) กับผู้คนที่ใช้ชีวิตย่านดังกล่าวที่ประกอบไปด้วยเจ้าของพื้นที่เดิมผู้อาศัย ผู้ประกอบการค้า ผู้ใช้พื้นที่ประกอบอาชีพ แรงงานต่างๆจำนวน 10 คน และวิธีการสำคัญที่นำมาใช้อีกประการคือ “การเดิน” ที่ เดอ แชร์โต (De Certeau) ได้ใช้ในการศึกษาพื้นที่เมือง โดย “การอ่าน” พื้นที่เมือง โดยมีแนวคิดในการศึกษาคือแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การสร้างถิ่นที่ความเป็นย่านผลการศึกษาพบว่า สุขุมวิทเติบโตมาหลังจากมีการสร้างถนนสุขุมวิทในปี พ.ศ.2479 และตั้งชื่อตามผู้ก่อสร้างคือ พระพิศาลสุขุมวิท ซึ่งแต่ก่อนย่านนี้จะถูกเรียกว่า “ทุ่งบางกะปิ” ต่อมาพื้นที่ย่านนี้ขยายตัวขึ้นตามการขยายเมืองมาทางทิศตะวันออก และปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ อีกหลายประการที่ทำให้พื้นที่สุขุมวิทย่านพร้อมพงษ์เป็นพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ประกอบไปด้วยสวนเบญจสิริย่านดิ เอม ดิสทริค (The Em District) ย่านเจแปนนิสทาวน์ (Japanese Town) ไดโนซอร์ แพลนเน็ต (DinosaurPlanet) อันเกิดจากทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)และทักษะการประยุกต์ (Adaptive Skills) ตามลักษณะของแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ความเป็นย่านที่มีองค์ประกอบรองรับทั้งการสร้างปฎิสัมพันธ์ทางสังคมในย่านกิจกรรม การเข้าถึง การเชื่อมต่อ รวมทั้งความสะดวกสบายและกายภาพหลักล้วนส่งผลให้ปัจจุบันสุขุมวิทเป็นพื้นที่ศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจที่สำคัญของกรุงเทพชั้นในth_TH
dc.description.abstractThe study of the creativity of Sukhumvit in Bangkok Metropolitan. The purpose in to study thecreative economy during Prompong area of Sukhumvit road. The qualitative method include participant observation , in-depth interview with native people in this area. These comprise with the original owner, the merchant, the worker in 10 people. De Certeau concept with “The walking” were used into reading the urban square in this area.The result found that the Sukhumvit Road was built by Phra-Pisan Sukhumvit in 1936. The former name area called “Thung Bangkapi”. By the time the Bangkok was expand to the east. And a factor of social, economic and many other things that make the Prompong area grew up. The Prompong district comprise with Benjasiri Park, The Em District ; the luxury department store in Asia, the Little Japanese town and Dinosaur Planet. They was rising form intellectual capital and adaptive skills. The creativity economy based on the social and cultural capital within the Sukhumvit-Prompong area. This area in one of the best central business district (CDB) in Bangkok.-
dc.language.isothth_TH
dc.subjectถนนสุขุมวิทth_TH
dc.subjectเศรษฐกิจสร้างสรรค์th_TH
dc.subjectพื้นที่th_TH
dc.subjectSukhumvit Roadth_TH
dc.subjectCreative Economyth_TH
dc.subjectSpaceth_TH
dc.titleพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ย่านสุขุมวิทth_TH
dc.title.alternativeThe Creativity of Sukhumvit Area in Bangkok Metropolitanth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.identifier.bibliograpycitationวารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2017): มกราคม - มิถุนายน 2560, หน้า 42-50.th_TH
Appears in Collections:Soc-Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soc-Jaruwan-K-2560.pdf535.26 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.