dc.contributor.author |
วิภาพร ปลั่งกลาง |
th_TH |
dc.contributor.author |
ระวิวรรณ วรรณวิไชย |
th_TH |
dc.contributor.author |
วรพล อร่ามรัศมีกุล |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2024-10-24T09:56:50Z |
|
dc.date.available |
2024-10-24T09:56:50Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30860 |
|
dc.identifier.uri |
https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/266281 |
|
dc.description.abstract |
This research is the development of movement skills in patients with Parkinson's disease by using the dance therapy activities according to LSVT BIG. To design an activity set and to study the results of using the LSVT BIG theoretical behavioral therapy activity among patients with Parkinson's disease.From the development research. To develop art treatment activity and the experiment research.By conducting studies in Parkinson's patients, a total of eight people. The resultsof the study concluded that the series of dance therapy activities has the application of a vocal character that has a characteristic from northeast dance. With a particular emphasis on balance, there is a wide and large movement that is consistent with the LSVT BIG theory. In every position, the activity is divided into one main activity and three sub-activities, as follows: main activity, LSVT BIG theoretical dance therapy, and an activity set to develop movement skills in patients with Parkinson's disease. Fromthe northeast dance moves that correlated with LSVT BIG theory are arranged from the process. The posture starts from the upper part of the body. Then,every part of the body, as previously mentioned, causing the practitioner to use force and concentrate on high movement use. The duration of the activity was four weeks, four times in total, 16 times at 60 minutes each. According to the t-test for statistical analysis, the Five Time sit to stand test had an average before joining the activityat 17.89 seconds and after joining the activity at 12.59 seconds. It took less time than before the trial. The activity set had an average difference of 5.30 seconds, and time up and go test tests had an average before joining the activity at 16.87 seconds and after joining at 10.94 seconds. The duration was less than before the trial.The activity set had an average difference of 5.93 seconds. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันโดยการใช้กิจกรรมนาฏศิลป์บำบัดตามทฤษฎี LSVT BIG |
th_TH |
dc.title.alternative |
THE DEVELOPMENT OF MOVEMENT SKILLS IN PATIENTS WITH PARKINSON’S DISEASE BY USING THE DANCE THERAPY ACTIVITIES ACCORDING TO LSVT BIG THEORY |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
โรคพาร์กินสัน |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ผู้ป่วย |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การเคลื่อนไหว |
th_TH |
dc.subject.keyword |
นาฏศิลป์บำบัด |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ทฤษฎี LSVT BIG |
th_TH |
dc.subject.keyword |
MOVEMENT SKILLS |
th_TH |
dc.subject.keyword |
PARKINSON’S DISEASE |
th_TH |
dc.subject.keyword |
DANCE THERAPY |
th_TH |
dc.subject.keyword |
LSVT BIG THEORY |
th_TH |
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 (กรกฎาคม 2566) |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
การพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันโดยการใช้กิจกรรมนาฏศิลป์บำบัดตามทฤษฎีLSVT BIG มีวัตุประสงค์สำคัญ เพื่อออกแบบชุดกิจกรรม และศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมนาฏศิลป์บำบัดตามทฤษฎี LSVT BIGในผู้ป่วยโรคพาร์กินสันโดยเป็นการวิจัยเชิงพัฒนา การพัฒนากิจกรรมนาฏศิลป์บำบัด และการวิจัยเชิงทดลองโดยการศึกษาในผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน จำนวน8คน ผลการศึกษาพบว่า ชุดกิจกรรมนาฏศิลป์บำบัดมีการประยุกต์ใช้ท่านาฏยศิลป์อีสานที่เน้นเฉพาะในเรื่องของการทรงตัวมีการเคลื่อนไหวที่กว้างและใหญ่มีความสอดคล้องกับทฤษฎีLSVT BIGมีการยืดเหยียดที่ตึงที่สุดทุกท่าโดยแบ่งกิจกรรมออกเป็น1กิจกรรมหลัก และ3 กิจกรรมย่อย ดังนี้กิจกรรมหลัก ชุดกิจกรรมนาฏศิลป์บำบัดตามทฤษฎีLSVT BIGจากท่านาฏยศิลป์อีสานที่สอดคล้องกับทฤษฎีLSVT BIGเรียงจากกระบวนท่าที่เคลื่อนไหวที่เริ่มจากช่วงบนของร่างกายไปจนถึงทุกช่วงของร่างกายทำให้ผู้ปฏิบัติจะต้องใช้แรงและสมาธิในการเคลื่อนไหวสูงใช้ระยะเวลาในการทำกิจกรรมจำนวน4 สัปดาห์สัปดาห์ละ 4 ครั้ง รวมเป็น16 ครั้ง ครั้งละ 60 นาที จากการวิเคราะห์ด้วยสถิติ t-test พบว่า การทดสอบ Five Time sit to stand มีค่าเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ที่17.89 วินาที และหลังเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ที่12.59 วินาที ใช้ระยะเวลาน้อยกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมมีความต่างเท่ากับ5.30วินาทีและการทดสอบTime up and go test มีค่าเฉลี่ยก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ที่16.87 วินาทีและหลังเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ที่ 10.94 วินาทีใช้ระยะเวลาน้อยกว่าก่อนใช้ชุดกิจกรรมมีความต่างเท่ากับ 5.93 วินาที |
th_TH |