DSpace Repository

ส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวในตุนหวง จังหวัดกานซู่

Show simple item record

dc.contributor.author Chen Jing
dc.contributor.author Krittika Saynaratchai
dc.date.accessioned 2024-08-29T03:21:24Z
dc.date.available 2024-08-29T03:21:24Z
dc.date.issued 2567
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30830
dc.description งานประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2024 ครั้งที่ 6 “นวัตกรรม BCG เพื่อการศึกษา” ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
dc.description.abstract This research aimed to study: 1) tourists' souvenir purchasing behavior, and 2) the marketing mix of souvenirs for tourists in Dunhuang, Gansu Province. The samples used in the study were Chinese tourists who traveled to Dunhuang and purchased souvenirs there, totaling 400 people. A survey questionnaire was conducted using the Wenjuanxing survey tool. The data were analyzed statistically using computer programs to calculate frequency, percentage, mean, standard deviation, and perform One-way ANOVA. The results indicate that the majority of respondents are male, aged between 36 - 45 years old, holding a Bachelor's degree, employed in government/state enterprises, and have an average monthly income level between 3,000 - 5,000 Yuan. Most respondents are visiting Dunhuang for the first time for travel or leisure purposes, accompanied by family, and traveling by train. The majority of visitors stay in Dunhuang for 2 - 3 days. Concerning souvenir purchases, most tourists buy occasionally, primarily for memorable travel experiences, with expenditure on souvenirs ranging from 100 - 300 Yuan. The most popular types of souvenirs are crafts. Tourists primarily purchase souvenirs at scenic spots such as Mogao Grottoes, with the majority opting to buy at kiosks. Souvenir information is mainly obtained from brochures. The marketing mix of souvenirs for tourists in Dunhuang, was ranked highly in terms of product, physical evidence, packaging, place, promotion, and price, respectively. The comparison of the marketing mix of souvenirs for tourists in Dunhuang across gender, age, and monthly income groups revealed significant differences at the 0.05 level in all aspects.
dc.language th
dc.publisher คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject ส่วนประสมทางการตลาด
dc.subject ของที่ระลึก
dc.subject นักท่องเที่ยวจีน
dc.subject ตุนหวง
dc.subject Marketing mix
dc.subject Souvenirs
dc.subject Chinese tourists
dc.subject Dunhuang
dc.title ส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวในตุนหวง จังหวัดกานซู่
dc.title.alternative Marketing Mix of Souvenirs for Tourist in Dunhuang, Gansu Province
dc.type Article
dc.description.abstractthai งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการซื้อของที่ระลึกของนักท่องเที่ยว และ 2) ส่วนประสมทางการตลาด ของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวในตุนหวง จังหวัดกานซู่ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวชาวจีนที่เดินทางท่องเที่ยวและซื้อของที่ ระลึกในตุนหวง จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ถูกสร้างจากเครื่องมือ Wenjuanxing โดยนำผลที่ ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป โดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 36 – 45 ปี ระดับการศึกษา ปริญญาตรี ทำงานในหน่วยงานภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจ มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 3,000 – 5,000 หยวน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เดินทางมาตุนหวงเป็นครั้งแรก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อท่องเที่ยวหรือพักผ่อนกับครอบครัว นิยมเดินทางโดยรถไฟ และอยู่ในตุนหวง 2 – 3 วัน นักท่องเที่ยวนิยมซื้อของที่ระลึกเป็นบางโอกาส เพื่อเก็บเป็นประสบการณ์ทางการท่องเที่ยวที่น่าจดจำ มีค่าใช้จ่ายในการ ซื้อของที่ระลึก 100 – 300 หยวน ของที่ระลึกที่เป็นที่นิยมมากที่สุดคืองานฝีมือ โดยนิยมซื้อตามสถานที่ท่องเที่ยว เช่น ถ้ำโมเกา ผ่านตู้คีออส และได้รับข้อมูลเกี่ยวกับของที่ระลึกมาจากโบรชัวร์ ส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับนักท่องเที่ยวในตุน หวง นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านบรรจุภัณฑ์ ด้าน สถานที่ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านราคา ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบส่วนประสมทางการตลาดของที่ระลึกสำหรับ นักท่องเที่ยวในตุนหวง ระหว่างเพศ อายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน พบว่าทุกประเด็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics