DSpace Repository

รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ เครื่องประดับแห่งล้านนาตะวันออก : การออกแบบร่วมสมัยสะท้อนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม

Show simple item record

dc.contributor.author ธนกฤต ใจสุดา th_TH
dc.contributor.author ดาวรรณ หมัดหลี th_TH
dc.contributor.author วิมลิน สันตจิต th_TH
dc.date.accessioned 2024-02-06T05:40:09Z
dc.date.available 2024-02-06T05:40:09Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30165
dc.description ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2565 th_TH
dc.description.abstract Today's jewelry design looks more contemporary, emphasizing on self-expression. By reflecting the perspectives and ideas of designers and artists in the context of society, culture, ethnicity, aesthetics, technology, and way of life. Through designs that are unique and in line with current lifestyles, creating new styles. Thus, this research presents strategies and guidelines for designing contemporary jewelry from cultural capital, using the Eastern Lanna area as a case study. The objectives of this research are: 1) To study, analyze, and synthesize Eastern Lanna identity for use as a guideline for designing contemporary jewelry that reflects Eastern Lanna identity; 2) To design and create a prototype of contemporary Eastern Lanna identity jewelry. and 3) To disseminate knowledge of contemporary jewelry design with Eastern Lanna identity. and evaluate the perception and satisfaction of jewelry prototypes. The results showed that Eastern Lanna Identity jewelry in this research uses the BLEND strategy in design, developed from the interpretation of the identity, image and identity of the provinces in the Eastern Lanna group. The proposed strategy is a design development in the form of integrated design. Hybridization. The guidelines for creative design have created terms and conditions for design. In presenting the identity of each province as a representative in 4 elements: 1. representative colors 2. representative materials 3. representative patterns/shapes and 4 representative story contents, which is a synthesis through perception from data collection, interviews, and field visits. The researcher designed and produced 4 sets of jewelry to present the identity of each province. The results of the evaluation of jewelry prototypes by jewelry designers and jewelry consumers revealed that Jewelry developed under the BLEND strategy can well express the Lanna identity of the East. It is a concept development that creates new knowledge in jewelry design. Create value and value responding to the current economy as part of the utilization of cultural capital in developing the country. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.title รายงานการวิจัยและนวัตกรรมฉบับสมบูรณ์ เครื่องประดับแห่งล้านนาตะวันออก : การออกแบบร่วมสมัยสะท้อนอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม th_TH
dc.title.alternative Contemporary jewelry design from Eastern Lanna identity
dc.type Technical Report th_TH
dc.subject.keyword เครื่องประดับ th_TH
dc.subject.keyword การออกแบบ th_TH
dc.subject.keyword ล้านนาตะวันออก th_TH
dc.subject.keyword อัตลักษณ์ th_TH
dc.subject.keyword เครื่องประดับร่วมสมัย th_TH
dc.subject.keyword ทุนทางวัฒนธรรม th_TH
dc.subject.keyword Eastern Lanna th_TH
dc.subject.keyword Identity th_TH
dc.subject.keyword Contemporary Jewelry th_TH
dc.subject.keyword Design Strategy th_TH
dc.subject.keyword Contemporary Design th_TH
dc.subject.keyword Cultural Capital th_TH
dc.description.abstractthai การออกแบบเครื่องประดับในปัจจุบันมีลักษณะเป็นงานร่วมสมัยมากขึ้น เน้นการแสดงออกซึ่งตัวตน โดยการสะท้อนให้เห็นมุมมองและแนวคิดของนักออกแบบและศิลปินในบริบทของสังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ สุนทรียะ เทคโนโลยีและวิถีชีวิต ผ่านผลงานการออกแบบที่มีอัตลักษณ์และสอดคล้องกับวิถีชีวิตปัจจุบันเกิดเป็นรูปแบบใหม่ ๆ การวิจัยนี้จึงนำเสนอกลยุทธ์ และแนวทางในการออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัยจากทุนทางวัฒนธรรมโดยมีพื้นที่ล้านนาตะวันออกเป็นกรณีศึกษา ซึ่งงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์อัตลักษณ์ล้านนาตะวันออกสำหรับใช้เป็นแนวทางในการออกแบบสร้างสรรค์เครื่องประดับร่วมสมัยที่สะท้อนอัตลักษณ์ล้านนาตะวันออก 2) เพื่อออกแบบและสร้างต้นแบบเครื่องประดับร่วมสมัยอัตลักษณ์ล้านนาตะวันออก ที่สร้างแรงบันดาลใจและเป็นต้นแบบในการต่อยอดงานออกแบบเครื่องประดับ และ3) เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้การออกแบบเครื่องประดับร่วมสมัยอัตลักษณ์ล้านนาตะวันออก และประเมินผลการรับรู้และความพึงพอใจต่อต้นแบบเครื่องประดับ ผลวิจัยพบว่า เครื่องประดับอัตลักษณ์ล้านนาตะวันออกในการวิจัยนี้ใช้กลยุทธ์ BLEND ในการออกแบบโดยพัฒนามาจากการตีความเอกลักษณ์ ภาพลักษณ์ และตัวตนของจังหวัดในกลุ่มล้านนาตะวันออก กลยุทธ์ที่นำเสนอเป็นการพัฒนาการออกแบบในลักษณะของการออกแบบผสมผสาน Hybridization โดยแนวทางในการออกแบบสร้างสรรค์มีการสร้างข้อกำหนดและเงื่อนไขการออกแบบ ในการนำเสนอถึงถึงอัตลักษณ์ของแต่ละจังหวัดในฐานะตัวแทน ใน 4 องค์ประกอบ คือ 1. สีตัวแทน 2. วัสดุตัวแทน 3. ลวดลาย/รูปร่างตัวแทน และ 4 เนื้อหาเรื่องราวตัวแทน ซึ่งเป็นการสังเคราะห์ผ่านการรับรู้จากการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์และการลงพื้นที่ ผู้วิจัยทำการออกแบบและผลิตเครื่องประดับจำนวน 4 ชุด เพื่อนำเสนออัตลักษณ์ของแต่ละจังหวัด ผลการประเมินต้นแบบเครื่องประดับจากผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบเครื่องประดับและผู้บริโภคเครื่องประดับในภาพรวมพบว่า เครื่องประดับที่พัฒนาภายใต้กลยุทธ์ BLEND สามารถแสดงออกซึ่งอัตลักษณ์ล้านนาตะวันออกได้ในเกณฑ์ ดี เป็นการพัฒนาแนวคิดก่อให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านการออกแบบเครื่องประดับ สร้างคุณค่าและมูลค่า ตอบสนองกับเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน อันเป็นส่วนหนึ่งในการใช้ประโยชน์จากทุนทางวัฒนธรรมในการพัฒนาประเทศ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics