DSpace Repository

การมีส่วนร่วมของชุมชนในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยงเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษา บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ
dc.contributor.author พระวิชชญะ น้ำใจดี
dc.date.accessioned 2024-01-08T10:38:06Z
dc.date.available 2024-01-08T10:38:06Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBJ/article/view/252952
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29754
dc.description.abstract The objectives of this research are 1. to study the policy, process and cultural tourism management by community participation in Ban Chiang, Udon Thani province, 2. to study the benefits of the cultural tourism management in Ban Chiang. This study is qualitative research. The key information interviews including the person in charge of Ban Chiang municipality office, the museum staff of Ban Chiang national museum, and the representative samples of the people's participation at Ban Chiang cultural tourism were used in this research. This study determines the community participation of the cultural tourism management. The results showed that the community does not participate in the planning process and impose a policy, but the community can be used this policy which improve the community benefits of the tourism management. Additionally, Tai Puan folk museum was established for cultural preservation supports of Tai Puan, Ban Chiang. This result indicated that it was the basic reason for establishing the occupation cultural tourism group examples the community participation was available to welcome the tourists, the community was disseminated the culture and open the house as a homestay, and travelers get the experience the life and culture of Tai Phuan culture which was an unique community. The Tai Phuan community was disseminated and conserved the tradition and culture such as traditional costumes, food and dance etc. All of these activities were particularly important source of income in the community. The main problems and obstacles of this study associated with Ban Chiang community's participation in the cultural tourism management such as the major problems of local wisdom transfer found were lack of interested learners and descendants, without which do not have bus or transportation to the tourist attraction, do not have tourist information center, and the effect of tourist activities can impact the integrity of archaeological sites such as bringing a large car near the museum, and there are entertainment as sound and vibration can be damaged the this sites because Ban Chiang is an underground archaeological site. The recommendations of this study are: encourage the community to participate in policy formulation, planning, and solving the local problems. There are should be improve of the information board to clear and cover the entire tourist areas in this place, and should be the project on the development of knowledge about tourist destinations for community personnel to prepare and improve the community's problems; the community is ready to accommodate the growing number of tourists
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
dc.subject การมีส่วนร่วม
dc.subject แหล่งมรดกโลกบ้านเชียง
dc.subject Ban Chiang archaeological site
dc.subject Cultural tourism
dc.subject Participation
dc.title การมีส่วนร่วมของชุมชนในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยงเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษา บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี
dc.title.alternative PEOPLE PARTICIPATION ON POLICY RELATED TO THE MANAGEMENT OF CULTURAL HERITAGE TOURISM AREA: A CASE STUDY OF BAN CHIANG ARCHAEOLOGICAL SITE, UDON THANI PROVINCE
dc.type Article
dc.identifier.bibliograpycitation วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (2018): กรกฎาคม-ธันวาคม 2561
dc.description.abstractthai การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดาเนินงานในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี 2. เพื่อศึกษาประโยชน์ในการนานโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ของชุมชนบ้านเชียง จังหวัดอุดรธานีไปปฏิบัติ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสาคัญ ได้แก่ ผู้รับผิดชอบนโยบายของเทศบาลตาบลบ้านเชียง เจ้าหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติบ้านเชียง และตัวแทนประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านเชียง ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของชุมชนในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบ้านเชียง ชุมชนไม่มีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบาย แต่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามนโยบายเป็นอย่างดีมีส่วนร่วมในการใช้ประโยชน์ของนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยว เกิดเป็นพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านไทพวนเพื่ออนุรักษ์ประเพณี วัฒนธรรมของไทพวนบ้านเชียง และเกิดกลุ่มอาชีพเพื่อเป็นรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมต้อนรับนักท่องเที่ยว โดยการเข้ากลุ่มอาชีพตามความถนัดของตน และการเปิดบ้านเป็นที่พักแบบโฮมสเตย์ให้นักท่องเที่ยวได้เข้าพักและสัมผัสวิถีชีวิต การกิน การแต่งตัว และวัฒนธรรมไทพวนที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านเชียง ทาให้เกิดเป็นรายได้ของชุมชน ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเชียงในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สาคัญได้แก่ กลุ่มอาชีพส่วนใหญ่ขาดผู้ที่จะมาสืบทอดภูมิปัญญา ไม่มีรถโดยสารประจาทางมาที่แหล่งท่องเที่ยว ไม่มีจุดต้อนรับนักท่องเที่ยว และผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อโบราณวัตถุ มาจากการนารถใหญ่เข้าใกล้บริเวณพิพิธภัณฑ์และการจัดงานมหรสพเสียงและแรงสั่นสะเทือนทาให้โบราณวัตถุอาจะเกิดความเสียหายได้ เพราะบ้านเชียงเป็นแหล่งโบราณคดีที่อยู่ใต้ดิน ข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านเชียงในนโยบายการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ควรให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการกาหนดแนวทางและวางแผนในการพัฒนาพื้นที่ร่วมกัน เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จัดสรรเจ้าหน้าที่ มัคคุเทศก์ ประจาจุดประชาสัมพันธ์เพื่อแนะนานักท่องเที่ยว หน่วยงานราชการในระดับนโยบายควรจัดการประชุมเพื่อหาทางออกในการแก้ปัญหาเพื่อไม่ให้กระทบต่อแหล่งโบราณวัตถุ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนปรับปรุงทัศนียภาพ แหล่งท่องเที่ยวและจัดกิจกรรมหรือโครงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้ต่อเนื่องเพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยว


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics