dc.contributor.author |
เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-08T10:38:06Z |
|
dc.date.available |
2024-01-08T10:38:06Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/article/view/266544 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29751 |
|
dc.description.abstract |
This research aims to survey the guidelines of human rights’ protection related to same-sex marriage in foreign countries and to study guidelines of policy formulation and laws related to same-sex marriage in Thailand. The study uses qualitative method by gathering, reviewing, and analyzing related literature documents concerning to policies and laws in many countries where a protest of same-sex marriage was occurred. The research found that in many countries in Europe, the claim and protest of rights are similar in style. Generally, many countries have Constitutional Laws which have the provisions to protect the rights, liberties, and equalities of citizens regardless of their sex, age, and social status. But still same-sex couples do not allow to get married. Same-sex couples then started to protest the government for violating their constitutional rights. Finally, it has been taken a long time until Same-sex Marriage Law or Civil Partnership Act has been enacted in some countries. But some countries the protest was not successful. However, Thailand is still struggling and claiming of same-sex marriage rights. Same-sex people protest that the government to change marriage law to cover same-sex people, not just men and women who can get married. Eventually, at present, instead of Same-sex Marriage law that they wish to have, the Civil Partnership Act is now approved by the Council of Ministers and then introduced to the National Assembly for further consideration and later will be submitted to the King for His Royal Signature and after which the Act will come into force in the near soon. |
|
dc.subject |
การกำหนดนโยบาย |
|
dc.subject |
สิทธิมนุษยชน |
|
dc.subject |
การสมรสเพศเดียวกัน |
|
dc.subject |
Policy Formulation |
|
dc.subject |
Human Rights |
|
dc.subject |
Same-sex Marriage |
|
dc.title |
การกำหนดนโยบายเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการสมรสระหว่างบุคคล เพศเดียวกัน |
|
dc.title.alternative |
POLICY FORMULATION FOR HUMAN RIGHTS PROTECTION OF SAME-SEX MARRIAGE |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 15 ฉบับที่ 29, January-June (2023) |
|
dc.description.abstractthai |
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการสมรสระหว่างบุคคลเพศเดียวกันในต่างประเทศ และศึกษาแนวทางการกำหนดนโยบายและกฎหมายการสมรสเพศเดียวกันในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารเกี่ยวกับนโยบายและกฎหมายในบางประเทศที่มีการเรียกร้องสิทธิการสมรสเพศเดียวกัน ผลการวิจัยพบว่าในต่างประเทศมีการเรียกร้องสิทธิการสมรสเพศเดียวกันเริ่มจากยุโรป ซึ่งรูปแบบและแนวทางการเรียกร้องสิทธิไม่แตกต่างกัน เริ่มจากการมีกฎหมายรัฐธรรมนูญที่มีบทบัญญัติคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและให้ความเสมอภาคแก่ประชาชนทุกคนโดยไม่คำนึงถึงเพศ อายุ และสถานะทางสังคม แต่ยังไม่อนุญาตให้มีการสมรสเพศเดียวกันได้ กลุ่มคนนี้จึงเรียกร้องให้แก้ไขกฎหมายเพื่อคุ้มครองสิทธิของตนมานานหลายปี จนในที่สุดก็มีพระราชบัญญัติคู่ชีวิต และบางประเทศมีกฎหมายสมรสเพศเดียวกัน แต่บางประเทศก็ยังไม่มีกฎหมายรับรองสิทธิให้ ประเทศไทยก็มีการเรียกร้องให้แก้ไขกฎหมายให้ครอบคลุมการสมรสเพศเดียวกันเช่นกัน แต่ท้ายที่สุดก็มีเพียงร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิตเท่านั้น ซึ่งขณะนี้ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีแล้ว และจะนำเข้าสู่การประชุมของรัฐสภาเพื่อพิจารณาและนำขึ้นทูลเกล้าเพื่อให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไปในอนาคตอันใกล้นี้ |
|