dc.contributor.author | ชญานิศวร์ โคโนะ | |
dc.date.accessioned | 2024-01-08T10:38:06Z | |
dc.date.available | 2024-01-08T10:38:06Z | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.identifier.uri | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/spurhs/article/view/244884 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29749 | |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to study the happiness of elderly people, and to study the factors contributing to the happiness of elderly people in Thailand. This study was a quantitative research. It studied the secondary data from Thailand’s National Statistical Office (NSO) under the research project: “2017 Survey of the Elderly People.” However, this study focused on the self-reported answers of 34,284 elderly people, aged 60 and above, regarding their perceptions on happiness during the past three months. Results indicated that the happiness rating mean of Thai elderly people was 6.98 (Out of the full score of 10.00) with standard deviation of 1.38. When the happiness rating scores were categorized into three groups, it was found that the largest group (49.36%) had moderate level of happiness, followed by the group with high level of happiness (36.17%); while the smallest group (14.47%) had low level of happiness. Furthermore, by using the methods of t-test and F-test to compare happiness mean scores, the test of significance revealed that there were a lot of factors statistically contributing to the happiness of elderly people. Those statistically significant factors were gender, age, education level, marital status, number of children, condition of employment, source of income, participation in important events, objective wellbeing, subjective wellbeing, the access to healthcare through welfare state, household size, and residential area and region. Nonetheless, according to the data, the factors regarding the availability of one’s own children, the older parents staying together with their children, and the being members of clubs/groups were not statistically significant factors contributing to the happiness among elderly people. | |
dc.subject | ความสุข | |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | |
dc.subject | สำนักงานสถิติแห่งชาติ | |
dc.subject | Happiness | |
dc.subject | Elderly people | |
dc.subject | National Statistical Office | |
dc.title | การศึกษาข้อมูลทุติยภูมิด้านความสุขของประชากรสูงอายุในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2560 | |
dc.title.alternative | A Study of 2017 Secondary Data of the Happiness Among Thai Elderly | |
dc.type | Article | |
dc.identifier.bibliograpycitation | วารสารศรีปทุมปริทัศน์. ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 (2021): กรกฎาคม-ธันวาคม 2564 | |
dc.description.abstractthai | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขของประชากรสูงอายุและศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขของประชากรสูงอายุในประเทศไทย โดยเป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการ “การสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560” ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ มุ่งศึกษาวิจัยเฉพาะประชากรผู้สูงอายุไทยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ตอบคำถามถึงระดับความสุขในช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาด้วยตนเอง มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 34,284 ราย ผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุไทยมีคะแนนความสุขเฉลี่ย 6.98 คะแนน (จากคะแนนเต็ม 10.00 คะแนน) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.38 เมื่อนำคะแนนความสุขมาจัดเป็นกลุ่มความสุข 3 กลุ่ม ปรากฏว่า ประชากรสูงอายุกลุ่มใหญ่ที่สุด (ร้อยละ 49.36) มีความสุขปานกลาง รองลงมาคือ มีความสุขมาก (ร้อยละ 36.17) ขณะที่ร้อยละ 14.47 มีความสุขน้อย สำหรับผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนความสุขเฉลี่ย โดยการใช้สถิติทดสอบทีและสถิติทดสอบเอฟ พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสุขของประชากรสูงอายุไทย ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส จำนวนบุตร การมีงานทำ แหล่งที่มาของรายได้ การเข้าร่วมกิจกรรมสำคัญ สุขภาพด้านภาวะวิสัย สุขภาพด้านอัตวิสัย การมีสวัสดิการรักษาพยาบาล จำนวนสมาชิกในครัวเรือน เขตที่อยู่อาศัยและภาค ขณะที่การมีบุตร การอยู่ร่วมกันกับบุตรและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม/ชมรมไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ |
Files | Size | Format | View |
---|---|---|---|
There are no files associated with this item. |