dc.contributor.author |
ไพรัช บวรสมพงษ์ |
|
dc.contributor.author |
เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล |
|
dc.contributor.author |
ธวิช สุดสาคร |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-08T10:38:06Z |
|
dc.date.available |
2024-01-08T10:38:06Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/policenurse/article/view/250780 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29747 |
|
dc.description.abstract |
The Thai Health Promotion Foundation needed to evaluate its 10-year (2012-2021) directions, goals, and strategies. Currently, it has been carried on more than halfway through and needs to be reviewed its action plan and activities during the past six years improving the efficiency of the project. The author was selected as an external assessor of this project. The evaluation results of the health promotion policy of the Thai Health Promotion Foundation are shown as follows: 1) The 10-Year directions, goals, and strategies (2012-2021) were appropriate for the current situation in Thailand and aligned with the fund’s established policies and operations under the Health Promotion Fund Act, B.E. 2544, and 2) various aspects of the mechanism employed to implement the policy under the Office of the Health Promotion Fund’s organizational structure were as follows: (1) Policy management of the fund committee controlled the operations, determined the overall budget, governed the administrative department, and managed the performances of the chief of the administrative department to ensure that the policy was executed in alignment with the objectives of the Health Promotion Fund Act, B.E. 2544, (2) Fund management and policy implementation were managed by the planning management committee, which was appointed by the fund committee, and (3) the policy outcome was evaluated depending on the operational budget size. The fund committee or the planning management committee held responsibilities of the monitoring and evaluating of the outcome and policy enforcing. The evaluation committee, which was independent of the fund committee, was also formed to assess the overall operational outcome that included social impact and administration ensuring public accountability of the Office of the Health Promotion Fund. The evaluation committee also reported the evaluation results and recommendations to the fund committee annually. |
|
dc.subject |
การประเมินนโยบาย |
|
dc.subject |
การสร้างเสริมสุขภาพ |
|
dc.subject |
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ |
|
dc.subject |
policy evaluation |
|
dc.subject |
health promotion |
|
dc.subject |
Thai health promotion foundation |
|
dc.title |
การประเมินนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ |
|
dc.title.alternative |
EVALUATION OF HEALTH PROMOTION POLICY OF THAI HEALTH PROMOTION FOUNDATION |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารพยาบาลตำรวจ. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (2021): กรกฎาคม - ธันวาคม |
|
dc.description.abstractthai |
การดำเนินงานของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตามทิศทางเป้าหมายและยุทธศาสตร์ระยะ 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) ซึ่งขณะนี้ได้ดำเนินการผ่านมากกว่าครึ่งแผนแล้ว จึงสมควรมีการประเมินผลนโยบายในช่วงระยะเวลา 6 ปีกว่าที่ผ่านมา เพื่อทบทวนทิศทางเป้าหมายยุทธศาสตร์ และกลไกการดำเนินงานของ สสส. เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลการประเมินนโยบายการสร้างเสริมสุขภาพของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พบว่า ทิศทาง เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2555-2564) มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดตั้งกองทุนและกิจการของกองทุนภายใต้พระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ.2544
กลไกการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติโดยผ่านโครงสร้างองค์กรของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ในด้านนโยบาย ใช้กลไกคณะกรรมการกองทุน ควบคุมดูแลการดำเนินกิจการกองทุน และกำหนดงบประมาณในภาพรวม การกำกับดูแลฝ่ายบริหารรวมทั้งควบคุมผลการปฏิบัติงานของผู้จัดการซึ่งเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544 นอกจากนี้ ด้านการบริหารจัดการกองทุนและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ใช้กลไกคณะกรรมการบริหารแผน แต่งตั้งโดยคณะกรรมการกองทุน และด้านการประเมินผลการดำเนินงานของกองทุน พบว่า 1) มีการใช้กลไกคณะกรรมการกองทุนเพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามขนาดของวงเงินประมาณโดยผ่านระบบและกลไกของคณะกรรมการกองทุนหรือคณะกรรมการบริหารแผนหรือสำนักงาน 2) ใช้กลไกคณะกรรมการประเมินผลซึ่งเป็นอิสระจากคณะกรรมการกองทุนเพื่อประเมินผลการดำเนินงานในภาพรวมทั้งด้านนโยบาย ด้านผลกระทบต่อสังคม และด้านการบริหารจัดการ อันจะเป็นหลักประกัน ความรับผิดชอบของ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพต่อสาธารณะ (Public Accountability) และรายงานผลพร้อมข้อเสนอแนะ ต่อคณะกรรมการกองทุนเป็นประจำทุกปี |
|