dc.contributor.author |
ฐาศุกร์ จันประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
จารุวรรณ ขำเพชร |
|
dc.contributor.author |
นฤมล บุญเคลิ้ม |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-08T08:37:32Z |
|
dc.date.available |
2024-01-08T08:37:32Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JBSD/article/view/201702 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29741 |
|
dc.description.abstract |
The purpose of the study was to find the processes for developing community researchers from the prototype community where there was the community researcher development or the use of research procedures for addressing the community problems in order to use the results of the study as the approach to plan and set the activities supporting community researchers’ potentiality which was a part of the research on the topic of Participatory Action Research to Develop the Model for Support Community Researchers Potentiality in Pak Phli, Nakhon Nayok. The researcher conducted the study in the whole primary prototype area of Phraek Nam Daeng, Amphawa, Samut Songkhram through focus group discussion and in-depth interview from the perspectives of supervisors and developers for community researchers as well as local researchers in the community. For secondary area, the researcher reviewed related literature and research. The result of the study of model areas found nine processes of developing community researchers were divided into three processes: 1) starting powerful thinking 2) creative action and 3) synthesizing the results and referring. The result of developing community researchers found in both levels of individual and community. |
|
dc.subject |
นักวิจัยชุมชน |
|
dc.subject |
ศักยภาพนักวิจัยชุมชน |
|
dc.subject |
Community researchers Researchers’ potential Community researcher development processes |
|
dc.subject |
Community researchers |
|
dc.subject |
Researchers’ potential |
|
dc.subject |
Community researcher development processes |
|
dc.title |
กระบวนการพัฒนานักวิจัยชุมชน: บทเรียนจากพื้นที่ต้นแบบ |
|
dc.title.alternative |
Community Researcher Development Processes: Lessons from the Prototype Community |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนาปีที่11ฉบับที่2กรกฎาคม2562 |
|
dc.description.abstractthai |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหากระบวนการพัฒนานักวิจัยชุมชนจากพื้นที่ต้นแบบที่มีการพัฒนานักวิจัยชุมชนหรือใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ปัญหาของชุมชน เพื่อนำผลการศึกษามาเป็นแนวทางในการวางแผนและกำหนดกิจกรรมการเสริมสร้างศักยภาพนักวิจัยชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างศักยภาพนักวิจัยชุมชน อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก โดยผู้วิจัยทำการศึกษาพื้นที่ต้นแบบทั้งพื้นที่ปฐมภูมิ คือตำบลแพรกหนามแดง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม โดยการสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เชิงลึก จากมุมมองของพี่เลี้ยงหรือผู้พัฒนานักวิจัยชุมชนและจากมุมมองของนักวิจัยท้องถิ่นในชุมชน และพื้นที่ทุติยภูมิ คือศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบกระบวนการพัฒนานักวิจัยชุมชน 9 ขั้นตอน โดยแบ่งกระบวนการได้เป็น 3 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นการเริ่มคิดอย่างมีพลัง 2) ขั้นการลงมือทำอย่างสร้างสรรค์ และ3) ขั้นการสังเคราะห์ผลและส่งต่อ ผลการพัฒนานักวิจัยชุมชนพบทั้งผลในระดับบุคคลและผลระดับชุมชน |
|