dc.contributor.author |
ชลวิทย์ เจียรจิตต์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-08T07:15:17Z |
|
dc.date.available |
2024-01-08T07:15:17Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsd/article/view/256653 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29728 |
|
dc.description.abstract |
This research has its purposes 1) to investigate the patterns of the potential development network of elders in the Thai society, and 2) to examine and expand the knowledge and social innovation to advance the potential development of elders in theThai society. The methodologies employed were document analysis, in-dept interviews, observations, and focus group discussions. Thirty informants were recruited, as well as content and thematic analyses were conducted.
The findings revealed three patterns of potential development of elders in the Thai society: 1) the potential development network by the Buddhist organizations, 2) the potential development network by the local government organizations, and 3) the potential development network by the government. All the three forms were differentiated by the network reinforcing the potential development. In addition, the social innovation expressed two forms of the elderly development: 1) network social innovation and 2) knowledge social innovation regarding the holistic health, basic rights in daily life, together with the technological and digital knowledge strengthening the network and sustainable procedures. |
|
dc.subject |
นวัตกรรมทางสังคม |
|
dc.subject |
เครือข่ายเพื่อการพัฒนาศักยภาพ |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ |
|
dc.subject |
Social Innovation |
|
dc.subject |
Potential Development |
|
dc.subject |
Network Elderly |
|
dc.title |
สู่สังคมชาญชรา: นวัตกรรมทางสังคมกับการเสริมสร้างเครือข่ายเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในสังคมไทย |
|
dc.title.alternative |
Toward the Ageing Society: Social Innovation and Network Reinforcement for Potential Development of Elders in the Thai Society |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารพัฒนาสังคมและยุทธศาสตร์การบริหาร. ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (2022): เมษายน 2565 |
|
dc.description.abstractthai |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในสังคมไทย และ 2) ศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมทางสังคมเพื่อพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในสังคมไทย โดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพจากการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตการณ์ และการสนทนากลุ่ม มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 30 คน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์แก่นสาระ
ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในสังคมไทยมีรูปแบบที่สำคัญ 3 รูปแบบคือ 1) เครือข่ายการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีองค์กรพระพุทธศาสนาเป็นแกนกลาง 2) เครือข่ายการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนกลาง และ 3) เครือข่ายการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุที่มีภาครัฐส่วนกลางเป็นแกนกลาง โดยทั้ง 3 รูปแบบมีความแตกต่างกันที่เครือข่ายในการผลักดันและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ สำหรับนวัตกรรมทางสังคมเพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในสังคมไทยมี 2 ลักษณะสำคัญได้แก่ 1) นวัตกรรมทางสังคมเชิงเครือข่าย และ 2) นวัตกรรมทางสังคมเชิงองค์ความรู้ โดยดำเนินไปภายใต้องค์ความรู้ในเรื่องสุขภาวะองค์รวม องค์ความรู้ในสิทธิขั้นพื้นฐานสำหรับการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ และองค์ความรู้เกี่ยวกับความรอบรู้ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล ซึ่งจะช่วยก่อให้เกิดความเข้มแข็งของเครือข่ายและเกิดความยั่งยืน |
|