dc.contributor.author |
ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี |
|
dc.contributor.author |
สุเมธ จานประดับ |
|
dc.contributor.author |
ภูมิ มูลศิลป์ |
|
dc.contributor.author |
อนงค์ฤทธิ์ แข็งแรง |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-08T04:34:31Z |
|
dc.date.available |
2024-01-08T04:34:31Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phdssj/article/view/142830 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29722 |
|
dc.description.abstract |
In this research, the researchers have objectives to (1) Study the background and problems of the rehabilitation of small and medium-sized enterprise in Thailand (2) Comparatively analyze the laws regarding the rehabilitation of small and medium-sized enterprises of Thailand and the law on business rehabilitation of foreign countries. And (3) propose more effective legal measures related to the rehabilitation of small and medium-sized enterprises. The researchers used the qualitative research methodology by using 3 methods of data collection, namely document research, in-depth interviews of 101 people and focus group discussion of 43 people, and analyzed the data by using content analysis techniques and comparison.
Findings are follows: The results of the research showed that small and medium-sized enterprises are an important factor in driving the country’s economy. But the Bankruptcy Act, A.D. 1940. did not allow small and medium-sized enterprises that experience temporary liquidity problems to enter the business rehabilitation process easily, fairly, conveniently, quickly, flexibly, economically, which could help all small and medium enterprises. When compared with foreign laws, the Bankruptcy Act, A.D. 1940. provisions should be revised at the entering business rehabilitation process, proceedings and the process for managing the rehabilitation plan stages to help entrepreneurs. |
|
dc.subject |
กฎหมายฟื้นฟูกิจการ |
|
dc.subject |
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม |
|
dc.subject |
แผนฟื้นฟูกิจการ |
|
dc.subject |
Reorganization Laws |
|
dc.subject |
Small and Medium-Sized |
|
dc.subject |
Enterprises Rehabilitation Plan |
|
dc.title |
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) |
|
dc.title.alternative |
Legal Measures Regarding Rehabilitation of Small and Medium-Sized Enterprises (SMEs) |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (2020): พฤษภาคม - สิงหาคม |
|
dc.description.abstractthai |
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมาและสภาพปัญหาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย (2) วิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบทางกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของประเทศไทยกับกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของต่างประเทศ และ (3) เสนอมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การวิจัยเอกสาร การสัมภาษณ์เจาะลึก จำนวน 101 คน และการสนทนากลุ่ม จำนวน 43 คน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาและเปรียบเทียบ
ผลการวิจัย พบว่า วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นตัวสำคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ แต่พระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ยังไม่เอื้ออำนวยให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องชั่วคราว สามารถเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการได้โดยง่าย เป็นธรรม สะดวก รวดเร็ว ยืดหยุ่น ประหยัด อันจะสามารถช่วยเหลือวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมทุกประเภทได้ เมื่อศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศแล้วจะต้องมีการปรับปรุงพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 ในขั้นตอนของการเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูกิจการ กระบวนพิจารณาในชั้นศาล และกระบวนการบริหารจัดการแผนฟื้นฟูกิจการ |
|