dc.contributor.author |
สัพพัญญู สุขพิระวัฒนกุล |
|
dc.contributor.author |
ศิริพร ปัญญาเมธีกุล |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-04T07:00:11Z |
|
dc.date.available |
2024-01-04T07:00:11Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://rs.mfu.ac.th/ojs/index.php/vacana/article/view/288 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29705 |
|
dc.description.abstract |
This article aims to analyze Jujaka’s face threatening strategies against addressees in
Mahavessantara Jataka, 13-Sermon Mahajati using face threatening criteria of Brown and
Levinson (1987). The results show that Jujaka uses 17 strategies in face threatening 6 of which
are positive face threatening which includes boasting, scolding, talking about the forbidden,
talking about the inappropriate, name calling, and refuting. Eleven strategies are negative face
threatening which includes promising, commanding, teaching, begging, offering,
complimenting, wishing, dare, threatening, persuading and blaming. It was found that Jujaka’s
chosen face threatening strategies against addressees are mainly based on the addressee’s
power and status. |
|
dc.subject |
การคุกคามหน้า |
|
dc.subject |
ชูชก |
|
dc.subject |
มหาเวสสันดรชาดก |
|
dc.subject |
face-threatening acts |
|
dc.subject |
Jujaka |
|
dc.subject |
Mahavessantara Jataka |
|
dc.title |
การคุกคามหน้าคู่สนทนาของชูชก ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ฉบับเทศน์มหาชาติ 13 กัณฑ์ |
|
dc.title.alternative |
Jujaka’s Face Threatening Strategies against Addressees: Mahavessantara Jataka, 13-Sermon Mahachat |
|
dc.type |
Article |
|
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารวจนะ. Vol 8, No 1 (2020) |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลวิธีการคุกคามหน้าคู่สนทนาของชูชกในเรื่อง
มหาเวสสันดรชาดก ฉบับเทศน์มหาชาติ 13 กัณฑ์ โดยใช้เกณฑ์การคุกคามหน้าของบราวน์และเลวินสัน
(Brown & Levinson, 1987) ในการวิเคราะห์ ผลจากการศึกษาพบว่าชูชกใช้กลวิธีการคุกคามหน้า
คู่สนทนา 17 กลวิธี แบ่งเป็ นการคุกคามหน้าด้านบวกของผู้ฟัง 6 กลวิธี คือ การโอ้อวด การบริภาษ การพูด
ถึงสิ่งต้องห้าม การยกเรื่องที่ไม่สมควรขึ ้นมาพูด การใช้ค าเรียกขานที่ไม่เหมาะสม และการปฏิเสธ
ส่วนการคุกคามหน้าด้านลบของผู้ฟังพบ 11 กลวิธี คือ การสัญญา การสั่ง การสอน การขอร้อง การให้
ข้อเสนอ การชม การอวยพร การท้าทาย การข่มขู่ การโน้มน้าว และการกล่าวหา จากผลการวิเคราะห์
พบว่าชูชกเลือกใช้กลวิธีการคุกคามหน้าคู่สนทนา โดยพิจารณาจากอำนาจและสถานภาพของคู่สนทนาเป็นหลัก |
|