dc.contributor.advisor |
รัฐวุฒิ วงษ์วิทย์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
อิสรีย์ พิบูลย์ก้องเดช |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-11-24T03:22:54Z |
|
dc.date.available |
2023-11-24T03:22:54Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29622 |
|
dc.description.abstract |
This engineering project aims to control the transformer tank production process and improve the quality of the transformer tank by using Six Sigma technique. The goal is to reduce waste caused by poor welding quality and improve operational standards for the welding process with the goal of increasing the sigma level (ϭ). By increasing the quality of the transformer tank uses the methods of Six Sigma. Beginning with the identification of
problems, analyzing the process of measurement and analyzing the cause of the problem by brainstorming through the fishbone diagram. It was found that the factors that affect the welding leakage are the welding current and the voltage used in the welding. Then take the factors obtained to test to find out whether the factors affecting the welding leak are statistically significant. The test results show that the welding current and the voltage are significant and then adjusted by finding the suitable factor by the experimental design
method to get the suitable value of the welding current. The improvement results showed that it could reduce waste due to the poor welding 10% and the quality level increased from 2.0316 up to 2.4122 or 39% |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การปรับปรุงคุณภาพในกระบวนการผลิตถังหม้อแปลงไฟฟ้า |
th_TH |
dc.title.alternative |
Quality improvement in electrical transformer production process |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การปรับปรุงคุณภาพ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ซิกซ์ซิกม่า |
th_TH |
dc.subject.keyword |
หม้อแปลงไฟฟ้า |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
โครงงานวิศวกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมกระบวนการผลิตถังหม้อแปลงไฟฟ้าและปรับปรุงคุณภาพของถังหม้อแปลงไฟฟ้าโดยใช้เทคนิคซิกซ์ซิกม่า โดยมีเป้าหมายเพื่อลดของเสียที่เกิดจากสาเหตุแนวเชื่อมไม่ได้คุณภาพ และปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานในส่วนของกระบวนการเชื่อม โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มค่าระดับคุณภาพของกระบวนการ (Sigma Level) ให้สูงขึ้น โดยการปรับปรุงคุณภาพของถังหม้อแปลงไฟฟ้าใช้วิธีการของซิกซ์ซิกม่า โดยเริ่มจากการระบุปัญหา การวิเคราะห์กระบวนการวัดและวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา โดยการใช้วิธีการระดมสมองผ่านแผนภาพก้างปลา พบว่าปัจจัยที่มีผล
ต่อแนวเชื่อมรั่วคือกระแสเชื่อมและแรงดันไฟที่ใช้ในการเชื่อม จากนั้นนำปัจจัยที่ได้ไปทดสอบ เพื่อหาว่าปัจจัยที่มีผลต่อแนวเชื่อมรั่วอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการทดสอบพบว่ากระแสเชื่อมและแรงดันไฟนั้นที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญ จากนั้นจึงทำการปรับปรุงโดยการหาค่าของปัจจัยที่เหมาะสมโดยวิธีการออกแบบการทดลองเพื่อให้ได้ค่าที่เหมาะสมของปัจจัยกระแสเชื่อมและแรงดันไฟฟ้า ผลการปรับปรุงพบว่าสามารถลดของเสียอันเนื่องมาจากแนวเชื่อมรั่วได้ร้อยละ 10 และค่าระดับคุณภาพเพิ่มจากเดิม 2.0316 ขึ้นเป็น 2.4122 หรือคิดเป็นร้อยละ 39 |
th_TH |