dc.contributor.advisor |
นิลวรรณ ชุ่มฤทธิ์ |
th_TH |
dc.contributor.advisor |
รติรัตน์ กิตติปัญญาพัฒน์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ชาลีรัตน์ สมเภา |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-11-24T02:29:08Z |
|
dc.date.available |
2023-11-24T02:29:08Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29618 |
|
dc.description.abstract |
The case study is a company that manufactures and provides electrical installation services with production patterns under the customer's orders. From the cooperative internship, the project starts to explore the problem of parts storage. It was found that warehouse 4, which stores only parts for low-voltage switchgear cabinets, there is a mix of various types of parts, unused parts are collected from the previous projects, and limited
storage space causes some products to be stored in random location or combined various product types. These problems have an effect to order picking process that operators cannot find parts. Therefore a fishbone diagram is used to analyze the cause of the problem and the ways to improve storage location are proposed by the theory of product grouping by ABC and FSN analysis. The new layouts of warehouse 4 are designed and also
determine. The result of original and purpose layouts are compared with measuring the average total time of order picking process is 7.80 minutes per transaction and the average distance is 25.50 meters per transaction. For the original layouts for the new warehouse, by estimating result an average total time is 4.89 minutes per transaction and the average total distance is 23.45 meters per transaction. These results account for 37.31% reduced in time and for 8.03% reduced in distance. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การปรับปรุงผังการจัดเก็บชิ้นส่วนของอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในคลังสินค้า |
th_TH |
dc.title.alternative |
Storage layout improvement of electrical equipment's parts in a warehouse |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การแบ่งกลุ่มสินค้า |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การวิเคราะห์ลำดับความสำคัญ |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
บริษัทกรณีศึกษา เป็นบริษัทที่ผลิตและให้บริการติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ามีรูปแบบการผลิตตามคำสั่งของลูกค้า จากการฝึกงานสหกิจเริ่มต้นสำรวจปัญหาในการจัดเก็บชิ้นส่วน พบว่าคลัง 4 ซึ่งจัดเก็บชิ้นส่วนเฉพาะตู้สวิตเกียร์แรงดันต่ำ มีการปะปนกันของชิ้นส่วนหลากหลายประเภท มีการจัดเก็บชิ้นส่วนที่ไม่ใช้แล้วจากงานโครงการที่ผ่านมา และพื้นที่จัดเก็บที่จำกัด ทำให้สินค้าบางรายการมีการจัดเก็บสินค้าในรูปแบบสุ่มหรือเก็บสินค้ารวมกัน ส่งผลต่อการเบิกจ่ายสินค้าที่พนักงานค้นหาชิ้นส่วนไม่เจอ ผู้จัดทำจึงใช้แผนผังก้างปลาวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และเสนอแนวทางการปรับปรุงตำแหน่งการจัดเก็บสินค้า โดยใช้ทฤษฎี
จัดกลุ่มสินค้าด้วยการวิเคราะห์ตามมูลค่าและตามความถี่ในการเบิกจ่าย ผู้จัดทำได้ออกแบบแผนผังใหม่ของคลังสินค้าที่ 4 และกำหนดตำแหน่งการจัดเก็บใหม่ จากการเปรียบเทียบระยะเวลารวมเฉลี่ยในกระบวนการเบิกจ่ายสินค้าของคลังสินค้าแบบเดิมและแบบใหม่ พบว่าคลังสินค้าแบบเดิมมีระยะเวลาเฉลี่ย 7.80 นาทีต่อรายการ และระยะทางเฉลี่ย 25.50 เมตรต่อรายการ ส่วนผลการจำลองคลังสินค้าแบบใหม่มีระยะเวลาเฉลี่ย 4.89 นาทีต่อรายการ และระยะทางรวมเฉลี่ย 23.45 เมตรต่อรายการ คิดเป็นสัดส่วนที่เวลาที่ลดลง 37.31 % และคิดเป็นสัดส่วนที่ระยะทางที่ลดลง 8.03 % |
th_TH |