DSpace Repository

การตัดสินใจแฮนด์โอเวอร์โดยใช้วิธีนิวโรฟัซซี่สำหรับการสื่อสารไร้สาย

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุนิศา คุณารักษ์ th_TH
dc.contributor.author สุวิรยา ทองเทพ th_TH
dc.contributor.author ชนินาถ เด่นสมุทร th_TH
dc.contributor.author สุภาสินี กิติทรัพย์ th_TH
dc.date.accessioned 2023-11-06T09:21:52Z
dc.date.available 2023-11-06T09:21:52Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29045
dc.description.abstract This engineering project is intended the handover decision by neuro-fuzzy algorithm for wireless communications that are cooperated between the neural networks and the fuzzy logic. The neuro-fuzzy helps the handover decision in wireless communications that are combined the Mobile-WiMAX, WLAN and LTE-A networks. Additionally, the bandwidth of channel, mobile speed and received signal strength indicator requirement metrics are introduced to consider the handover decision by neuro-fuzzy algorithm. The structure of the neuro-fuzzy using the data measured with these parameters. In the simulation results, the proposed algorithm outperforms compared with the fuzzy logic which are the tradition method as illustrated the number of handovers and the number of blocked calls to decrease by 13.2% and 5% respectively. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การตัดสินใจแฮนด์โอเวอร์โดยใช้วิธีนิวโรฟัซซี่สำหรับการสื่อสารไร้สาย th_TH
dc.title.alternative Handover decision by neuro-fuzzy algorithm for wireless communications th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword นิวโรฟัซซี่ th_TH
dc.subject.keyword การแฮนด์โอเวอร์ th_TH
dc.description.abstractthai โครงงานวิศวกรรมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการตัดสินใจแฮนด์โอเวอร์โดยใช้วิธีนิวโรฟัซซี่สำหรับการสื่อสารไร้สายโดยเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างเครือข่ายประสาทเทียมและฟัซซี่ลอจิก ซึ่งวิธีนิวโรฟัซซี่นี้จะช่วยทำการตัดสินใจแฮนด์โอเวอร์สำหรับการสื่อสารไร้สาย โดยมีการทำงานร่วมกันของเครือข่ายไร้สาย 3 ชนิด ได้แก่ โมบายไวแมกซ์ ไวเลสแลนด์ และแอลทีอีเอ นอกจากนี้จะนำค่าของแบนด์วิดท์ของช่องสัญญาณ ความเร็วของผู้ใช้บริการ และความแรงสัญญาณที่ผู้ใช้ได้รับที่ ต้องการของทั้ง 3 เครือข่ายมาพิจารณาในกระบวนการตัดสินใจแฮนด์โอเวอร์สำหรับวิธีนิวโรฟัซซี่ โดยทำการจำลองโครงสร้างของนิวโรฟัซซี่โดยใช้ข้อมูลที่วัดได้จากพารามิเตอร์ข้างต้น จากผลการทดลองพบว่าวิธีที่นำเสนอมีประสิทธิภาพที่ดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีฟัซซี่ลอจิก โดยทำการแสดงผลในรูปของจำนวนการแฮนด์โอเวอร์ และจำนวนการเรียกติดขัดลงได้ร้อยละ 13.2 และร้อยละ 5 ตามลำดับ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics