dc.contributor.advisor |
พิชญา ชัยปัญญา |
th_TH |
dc.contributor.author |
ชยางกูร วงษ์พฤกษา |
th_TH |
dc.contributor.author |
ณัฐกมล ทองน่วม |
th_TH |
dc.contributor.author |
วรัญญา สุขสอาด |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-11-06T07:58:01Z |
|
dc.date.available |
2023-11-06T07:58:01Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29038 |
|
dc.description.abstract |
This project presents fabrication of dual-band switched beam antenna to back lobe reduction for 5G wireless communications. The beam can be switched by shorted circuit both of outside and inside of the antenna, that make the antenna have beam in the direction that has been shorted circuit. Back lobe can be reduced by using parasitic elements, patch etching and shorted circuit outside and inside of the antenna. Therefore,
the antenna can operate at frequencies of 0.836 GHz and 2.533 GHz with the antenna gain of 5.39 dBi and 8.347 dBi, respectively. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การสร้างสายอากาศสวิตช์ลำคลื่นสองย่านความถี่ โดยลดพูหลังของสายอากาศ สำหรับการสื่อสารไร้สายยุคที่ 5 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Fabrication of dual-band switched beam antenna to back lobe reduction for 5G wireless communication |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
สายอากาศสวิตช์ลำคลื่น |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การลัดวงจร |
th_TH |
dc.subject.keyword |
พาราซิติก |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
โครงงานวิศวกรรมนี้ได้ทำการสร้างสายอากาศสวิตช์ลำคลื่นโดยใช้สายอากาศเพียงต้นเดียวให้สามารถทำงานได้ที่ความถี่ใช้งานสำหรับการสื่อสารไร้สายยุคที่ 5 คือที่ความถี่ 0.7 กิกะเฮิรตซ์ และความถี่ 2.6 กิกะเฮิรตซ์ โดยจะสามารถสวิตช์ลำคลื่นได้ด้วยการลัดวงจรทั้งด้านนอก และด้านในของสายอากาศ ทำให้สายอากาศมีลำคลื่นไปในทิศทางที่ได้ทำการลัดวงจรไว้ อีกทั้งยังทำการลดพูด้านหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสายอากาศ โดยการใช้องค์ประกอบของพาราซิติก เซาะร่องที่แผ่นตัวนำ และลัดวงจรทั้งด้านนอก และด้านในของสายอากาศ ซึ่งสายอากาศที่สร้างจะสามารถทำงานได้ที่ความถี่ 0.836
กิกะเฮิรตซ์ และความถี่ 2.533 กิกะเฮิรตซ์ โดยจะมีอัตราการขยายของสายอากาศเท่ากับ 5.39 dBi และ 8.347 dBi ตามลำดับ |
th_TH |