dc.contributor.author |
ชวิตรา ตันติมาลา |
th_TH |
dc.contributor.author |
ดุษฎี โยเหลา |
th_TH |
dc.contributor.author |
จารุวรรณ ขำเพชร |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-09-25T01:37:38Z |
|
dc.date.available |
2023-09-25T01:37:38Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29023 |
|
dc.identifier.uri |
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/99323 |
|
dc.description.abstract |
Flea market is the symbol of city and community life. There are two objectives of this research. Firstly, it is to search for meanings and values of Srinakharinwirot university flea market through the recognition of people in both market side which are sellers and consumers, and people in the university side which includes the marketing management, staffs, and students. Secondly, it is to search for social identities of the university’s flea market through the social exchange process, which will lead to more suitable policy that promote the university’s image. This research will be conducted through qualitative research method in the field of Ethnography with the techniques such as participatory observing, and in-depth individual and groups interviews. The study shows that the flea market in the university plays a significant role in locals spending and dietary routine. While, the area and the behavior of people in the market also reconstructs the identities of flea market; for example, health-conscious trend like eating clean leads to adaptation of shops interms of quality in response to higher standard of consumers’ needs and preferences. However, this market is located in area with academic atmosphere with good customers and unique culture; therefore, one can often observe people lining-up with discipline and rarely ask for bargains. In addition, the market also displays it’s diverse in culture, as numbers of foreigners especially Japanese can be spotted. Thus, this area is not only considered to be economically beneficial to the university, but alsosocially and culturally beneficial to the community. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
อัตลักษณ์ที่ลื่นไหลของตลาดนัดนานาชาติมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title.alternative |
THE DYNAMIC OF IDENTITIES IN THE SRINAKHARINWIROTUNIVERSITY INTERNATIONAL FLEA MARKET |
|
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ตลาดนัด |
th_TH |
dc.subject.keyword |
อัตลักษณ์ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
มหาวิทยาลัยของรัฐ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Identities |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Flea Market |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Public Universities |
th_TH |
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 (2016): มกราคม - มิถุนายน 2559 |
|
dc.description.abstractthai |
ตลาดนัดเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นเมืองและชีวิตชุมชน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาความหมาย และคุณค่าของตลาดนัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผ่านการรับรู้ของคนในตลาด ทั้งผู้ผลิต/ผู้ขาย และผู้บริโภค และคนในมหาวิทยาลัย ทั้งฝ่ายจัดการตลาดนัด บุคลากร และนิสิต และเพื่อค้นหาลักษณะเฉพาะของตลาดนัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม อันจะนำไปสู่การกำหนดนโยบายเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเชิงชาติพันธุ์วรรณนาที่มีเทคนิคการเก็บข้อมูลแบบสังเกตอย่างมีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึก และสนทนาแบบกลุ่ม จากการศึกษาพบว่า ตลาดนัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีความหมายต่อปากท้อง และการวางแผนจับจ่ายใช้สอยในชีวิตประจำวันของผู้คนโดยรอบ ในขณะเดียวกัน พื้นที่ และพฤติกรรมของคนในตลาดก็มีส่วนในการประกอบสร้างอัตลักษณ์ของตลาดนัด เช่น พฤติกรรมดูแลสุขภาพ หรือ “กินคลีน” ทำให้ร้านค้าต่างปรับตัว และจำเป็นต้องยกระดับคุณภาพของร้านตนเองเพื่อให้ตอบสนองมาตรฐานของลูกค้าที่สูงขึ้นอย่างไรก็ตาม ตลาดนัดนี้ตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีบรรยากาศทางวิชาการ มีกลุ่มลูกค้าที่ดี และมีวัฒนธรรมเฉพาะ เช่น ต่อแถวซื้อสินค้าอย่างมีระเบียบ และไม่ค่อยต่อรองราคาสินค้า นอกจากนี้ ยังมีชาวต่างชาติมากโดยเฉพาะลูกค้าชาวญี่ปุ่น ทำให้มีการผสมผสานความหลากหลายทางวัฒนธรรม ซึ่งถือเป็นการใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจต่อมหาวิทยาลัย และเชิงสังคมวัฒนธรรมต่อชุมชน |
th_TH |