DSpace Repository

การพัฒนาระบบไบโอฟีดแบคด้วยสัญญาณไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อเพื่อการฟื้นฟูโรคข้อเข่าเสื่อม

Show simple item record

dc.contributor.advisor วีรยส อร่ามเพียรเลิศ th_TH
dc.contributor.author ปิยมาภรณ์ วารีทิพย์ th_TH
dc.contributor.author ศรัณยา ศรีท่าพระ th_TH
dc.date.accessioned 2023-09-13T03:40:55Z
dc.date.available 2023-09-13T03:40:55Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29016
dc.description.abstract Osteoarthritis is the main cause of joint dysfunction in the elderly. The cause of the disease is increasing age and obesity. Osteoarthritis often causes defects in the hamstrings and the muscles of the hip, especially the quadriceps muscles. This deficiency may result in pain in osteoarthritis patients and affects walking posture, furthermore, it causes difficulties in life and disability or deformity of the knee. One of the methods of treatment is exercise combined with ergonomic management. The exercise can be done easily and without invasion of the patient's body but exercise should be done regularly and continuously. At least 20-40 minutes each time, 3-5 days a week, therefore, we have developed a Biofeedback game system for application in the recovery of the Quadriceps muscle group by using the technique of importing EMG signals to control a character in the game and tested the system 3 tests together, the result was the first experiment, the frame rate was 60 fps, it was found that the system had a high error due to too high frame rate to be unrelated in the receiving data, but when we selected a threshold value that suitable for the gender of subjects and adjusted the frame rate to 45 fps then the accuracy of the system is quite correct. Additionally, this game system is quite real-time but if you adjust the frame rate FPS, Overlapping Window and Processing Window values to be consistent. The system will definitely be more accurate. Besides, the system should be tested with patients in order to develop a system that is accurate to the physical therapy clinic. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การพัฒนาระบบไบโอฟีดแบคด้วยสัญญาณไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อเพื่อการฟื้นฟูโรคข้อเข่าเสื่อม th_TH
dc.title.alternative Biofeedback electromyography game for knee osteoarthritis rehabilitation th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword โรคข้อเข่าเสื่อม th_TH
dc.subject.keyword ระบบเกม Biofeedback th_TH
dc.subject.keyword การใช้สัญญาณไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อ th_TH
dc.description.abstractthai โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดความผิดปกติของข้อต่อในผู้สูงอายุ สาเหตุของโรคเกิด จากอายุที่เพิ่มมากขึ้นและโรคอ้วนโดยโรคข้อเข่าเสื่อมมักเกิดความบกพร่องในกล้ามเนื้อกลุ่มต้นขาด้านหน้า, ต้นขาด้านหลัง และสะโพก โดยเฉพาะกล้ามเนื้อกลุ่มต้นขาด้านหน้าหรือกล้ามเนื้อกลุ่ม Quadriceps ความ บกพร่องนี้อาจส่งผลให้เกิดความเจ็บปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมอาจส่งผลกระทบต่อท่าเดิน เกิดความ ยากลำบากในการใช้ชีวิต และเกิดความพิการหรือข้อเข่าผิดรูป โดยหนึ่งในแนวทางการรักษา คือ การออก กำลังกายร่วมกับการจัดการด้านการยศาสตร์ เนื่องจากสามารถทำได้อย่างง่ายและไม่มีการรุกลํ้าร่างกายผู้ป่วย แต่การออกกำลังกายควรทำอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่อง ครั้งละอย่างน้อย 20-40 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน ผู้จัดทำจึงได้พัฒนาระบบ Biofeedback สำหรับนำมาประยุกต์ใช้ในการฟื้นฟูกล้ามเนื้อกลุ่ม Quadriceps โดยพัฒนาระบบ Biofeedback ให้อยู่ในรูปของเกม ใช้เทคนิคการนำเข้าสัญญาณ EMG เพื่อเข้ามาเป็นตัว ควบคุมตัวละครในเกม และทำการทดสอบระบบเกม 3 การทดสอบด้วยกัน ได้ผลคือ การทดลองครั้งแรก Frame rate เท่ากับ 60 fps พบว่าระบบมีความผิดพลาดสูงเนื่องจาก Frame rate สูงการรับข้อมูลจึงไม่ สัมพันธ์กัน แต่เมื่อมีการเลือกช่วงค่า Threshold ที่มีความเหมาะสมกับระบบโดยแบ่งตามเพศของผู้ทดลอง และปรับ Frame rate ให้เหลือ 45 fps แล้วนั้นพบว่าความถูกต้องของระบบค่อนข้างจะถูกต้องทั้งหมด นอกจากนั้นระบบเกมนี้ก็ยังเป็นระบบที่ค่อนข้างจะเรียลไทม์ แต่ถ้าหากได้แก้ไขปรับค่า Frame rate FPS, Overlapping Window และค่า Processing Window ให้มีความสอดคล้องกัน ระบบเกมจะมีความแม่นยำที่ มากขึ้นอย่างแน่นอน และควรนำไปทดลองกับผู้ป่วยเพื่อพัฒนาระบบให้มีความถูกต้องตามจริงกับทางคลินิก กายภาพบำบัด th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics