dc.contributor.author |
กันนิกา นาขันดี |
|
dc.contributor.author |
ปรีชญาณ์ นักฟ้อน |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-11T09:50:57Z |
|
dc.date.available |
2023-09-11T09:50:57Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29001 |
|
dc.description.abstract |
The purposes of this study are as follows: (1) to study the actors and roles of
policy actors in the management of educational resources of Koh Chang Wittayakhom School;
and (2) to study the relationship characteristics between policy actors in the management of
educational resources of Koh Chang Wittayakhom School. The purpose of this study was
qualitative research by in-depth interviews and document analysis. It was found that the policy
actors in network partners involved in the management of educational resources of Koh Chang
Wittayakhom School and classified two characteristics: (1) the government actors consisted of
Koh Chang Wittayakhom School,the Secondary Educational Service Area Office Chanthaburi
Trat, Local Administrative Organization, another school, other government; (2) non-
government actors consisted of local leaders, the community, organizations, parents,
monasteries, establishments, hotels, resorts and volunteer groups. The relationship between
policy actors is a horizontal relationship. Participation depends on the potential of the
characters and the context of the area and the dependency of policy actors resulting in a
closer relationship. Both parties benefit from participation. Sometimes participation will be
based on consideration and benefits. This informal relationship has an effect on the
management of educational resources was untroubled. In particular, setting goals is a
key condition of working in a network that leads to success, dependency of policy actors by
the school is the center of action and Basic Education Board was that the actors consulted a
collaborative link between policy actors. The operations of network did not have a strong
mechanism or concrete system, according to the activities assigned by the school. However,
the relationship of policy actors is very stronger. This is an important mechanism that reflects
the potential and ability to participate in the management and promoting and supporting
operations. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
การบริหารทรัพยากรทางการศึกษา |
|
dc.subject |
ตัวแสดงทางนโยบาย |
|
dc.subject |
ความร่วมมือ |
|
dc.subject |
Educational resources management |
|
dc.subject |
Policy actors |
|
dc.subject |
Collaboration |
|
dc.title |
การศึกษาบทบาทของภาคีเครือข่ายที่มีส่วนร่วมในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม |
|
dc.title.alternative |
A STUDY OF THE ROLES OF NETWORK PARTNERS INVOLVED IN THE MANAGEMENT
OF EDUCATIONAL RESOURCES OF KOH CHANG WITTAYAKHOM SCHOOL |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาตัวแสดงและบทบาทของตัวแสดงทางนโยบายที่มีส่วน
ร่วมในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม (2) เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ ระหว่าง
ตัวแสดงทางนโยบายที่เข้ามามีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกาะช้าง
วิทยาคมซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และวิเคราะห์เอกสาร ในการเข้ามามีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย
ในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม พบว่า ตัวแสดงทางนโยบายมีส่วนร่วมในการ
บริหารทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม มี 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.ตัวแสดงในภาครัฐ ประกอบไป
ด้วย โรงเรียนเกาะช้างวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานศึกษาอื่น และหน่วยงานภาครัฐอื่น 2.ตัวแสดงนอกภาครัฐ ประกอบด้วย ผู้นําท้องถิ่น กลุ่มองค์กร ผู้ปกครอง
นักเรียน ชุมชน วัด สถานประกอบการ โรงแรม รีสอร์อท และกลุ่มอาสาสมัคร ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแดงเป็น
ความสัมพันธ์ในแนวราบ การมีส่วนร่วมเป็นไปตามศักยภาพของตัวแสดงและบริบทของพื้นที่ในเชิงความร่วมมือ
ระหว่างกัน ในลักษณะของเครือข่ายเชิงพื้นที่ และเครือข่ายเชิงประเด็นกิจกรรม เป็นความสัมพันธ์ที่พึ่งพาระหว่างตัว
แสดงในเครือข่าย การพึ่งพาอาศัยกันทําให้เครือข่ายมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น และรับผลประโยชน์
ร่วมกัน แต่ความสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการนี้กลับส่งผลให้การบริหารทรัพยากรทางการศึกษาเป็นไปได้อย่างราบรื่น
โดยเฉพาะการกําหนดจุดมุ่งหมายเป็นเงื่อนไขสําคัญของการทํางานเครือข่ายที่นําไปสู่ความสําเร็จ โดยมีโรงเรียนเป็น
แกนหลักในการดําเนินการ และมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นตัวแสดงที่คอยให้คําปรึกษาเชื่อมการ
ประสานความร่วมมือระหว่างตัวแสดง การดําเนินงานของเครือข่ายไม่ได้มีการวางกลไกที่แข็งแรง หรือการวางรูปแบบ
การทํางานที่ชัดเจน กลไกและรูปแบบของเครือข่ายจะแปรผันตามกิจกรรมรายกิจกรรมที่ทางโรงเรียนกําหนดเป็น
ประเด็นขึ้นมาในขณะนั้น แต่ความสัมพันธ์ของตัวแสดงในเครือข่ายนโยบายต่างหากที่มีความแข็งแรง ซึ่งเป็นกลไก
สําคัญที่สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพและความสามารถในการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาอย่างมีส่วนร่วม โดย
หน่วยงานภาครัฐ มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานเท่านั้น |
|