DSpace Repository

ปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่

Show simple item record

dc.contributor.author พิมพา เหมนรากร
dc.contributor.author ชลวิทย์ เจียรจิตต์
dc.date.accessioned 2023-09-11T09:50:57Z
dc.date.available 2023-09-11T09:50:57Z
dc.date.issued 2566
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29000
dc.description.abstract The impact of the Covid-19 outbreak has revealed that unemployment is rising in Generation Z, the group most vulnerable to unemployment. The goal of this study was to investigate the socioeconomic factors influencing the unemployment of 390 recent graduates. A questionnaire served as the data gathering instrument. Data analysis statistics included percentage, frequency, mean, standard deviation, t-test, and one-way analysis of variance. The study's findings found that gender, educational institution of graduation, and working status had no effect on graduates' unemployment rates. Factors influencing the unemployment of new graduates with ages greater than or equal to 24 and highest grade point average greater than 3.50, with the greatest impact on those living in the Eastern region. Most of them earn more than 60,000 baht per month and have more hard skills than soft skills. An examination of the relationship between social factors revealed that attitudes and values toward work in the organization were the most strongly associated to the factors influencing the unemployment status of recent graduates.
dc.language th
dc.publisher คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject ปัจจัยทางสังคม
dc.subject การว่างงาน
dc.subject บัณฑิตจบใหม่
dc.subject Social Factors
dc.subject Unemployment
dc.subject New Graduates
dc.title ปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่
dc.title.alternative THE SOCIAL FACTORS AFFECTING NEW GRADUATES UNEMPLOYMENT
dc.type Article
dc.description.abstractthai จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 พบว่าปัญหาการว่างงานมากขึ้นในเจเนอเรชันแซดเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงในการว่างงานมากที่สุด นำไปสู่การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่จำนวน 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลวิจัยพบว่า เพศ สถาบันการศึกษาที่สำเร็จการศึกษารวมไปถึงสถานภาพการทำงานมีความคิดเห็นต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบไม่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่ในช่วงอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 24 ปีและระดับผลการเรียนเฉลี่ยมากกว่า 3.50 สูงที่สุดและส่งผลต่อผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคตะวันออกมากที่สุด โดยส่วยใหญ่มีรายได้ต่อเดือนของครอบครัวมากกว่า 60,000 บาทขึ้นไป และมีทักษะทางด้านของ Hard skills สูงกว่า Soft skills จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านสังคมพบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติค่านิยมต่อการทำงานในองค์กรมีความสัมพันธ์กับปัจจัยที่ส่งผลต่อสภาวะการว่างงานของบัณฑิตจบใหม่สูงที่สุด


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics