dc.contributor.author | น้ำทิพย์ เกตุกาญจน์พาณิชย์ | |
dc.contributor.author | หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์ | |
dc.date.accessioned | 2023-09-11T09:50:57Z | |
dc.date.available | 2023-09-11T09:50:57Z | |
dc.date.issued | 2566 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28995 | |
dc.description.abstract | This study There were two objectives: 1) to study the psychological impact of children from family divorce, 2) to study the guidelines for adjusting children from family divorce. It is qualitative research collected from in-depth interviews with key informants, namely, to meet the objectives, consisting of Adolescents between 18 and 20 years old, consisting of 2 female adolescents aged 18, 3 female adolescents aged 19, 2 female adolescents aged 20, 1 male adolescent 18 years old, and 20-year-old male adolescents from the first objective The results showed that The psychological effects of the children from the family divorce revealed that there was a fear of change that would occur. stress feeling of not belonging to the family Thinking that I don't get the same amount of love and care and from the second objective, the guideline for adaptation of children born from divorced families, it was found that habituation, time, acceptance of change, friends and preference for idol artists. Keywords: teenager, divorce, family, psychological effects, adapting. | |
dc.language | th | |
dc.publisher | คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | |
dc.subject | วัยรุ่น | |
dc.subject | การหย่าร้าง | |
dc.subject | ครอบครัว | |
dc.subject | การปรับตัว | |
dc.subject | teenager | |
dc.subject | divorce | |
dc.subject | family | |
dc.subject | psychological effects | |
dc.subject | adapting | |
dc.title | การศึกษาผลกระทบทางจิตใจและการปรับตัวของบุตรที่เกิดจากการหย่าร้างของครอบครัว | |
dc.title.alternative | A STUDY OF THE PSYCHOLOGICAL AND ADAPTIVE EFFECTS OF CHILDREN RESULTING FROM FAMILY DIVORCE | |
dc.type | Article | |
dc.description.abstractthai | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบทางจิตใจของบุตรจากการหย่าร้างของครอบครัว 2) เพื่อศึกษาแนวทางการปรับตัวของบุตรจากการหย่าร้างของครอบครัว เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลหลัก เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ประกอบด้วย วัยรุ่นที่อยู่ช่วงระหว่าง 18-20 ปี ซึ่งประกอบไปด้วยวัยรุ่นหญิงที่มีอายุ 18 ปี จำนวน 2 คน วัยรุ่นหญิงที่มีอายุ 19 ปี จำนวน 3 คน วัยรุ่นหญิงที่มีอายุ 20 ปี จำนวน 2 คน วัยรุ่นชายที่มีอายุ 18 ปี จำนวน 1 คน และวัยรุ่นชายที่มีอายุ 20 ปี จำนวน 2 คน จากวัตถุประสงค์ข้อแรก ผลการวิจัยพบว่า ผลกระทบทางจิตใจของบุตรจากการหย่าร้างของครอบครัว มีการกลัวการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เกิดความเครียด รู้สึกถึงความไม่เป็นครอบครัว คิดว่าตัวเองไม่ได้รับความรักความเอาใจใส่เท่าเดิม และจากวัตถุประสงค์ข้อที่สองแนวทางการปรับตัวของบุตรที่เกิดจากการหย่าร้างของครอบครัว พบว่า ความเคยชิน เวลา การยอมรับต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อน และการชื่นชอบศิลปินที่ทำให้เด็กนั้นสามารถปรับตัวต่อเหตุการณ์การหย่าร้างที่เกิดขึ้นได้ |