dc.contributor.author |
พันธุ์ชนะ สุนทรพิพิธ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-09-08T15:33:18Z |
|
dc.date.available |
2023-09-08T15:33:18Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/2510 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28986 |
|
dc.description.abstract |
For many years, clothing has always been one of the most important factors for human to survive. Human obsess with the concept of covering and adorning ourselves with clothing from past to present. Clothing has become our necessity, starts from the primitive men who adapted skin and fur from animals to protect their body from cold weather. Until today, when we use clothing as a tools to express oneself and to differentiate ourselves from the others. From these reasons, the idea of studying the development of clothing through the concept of changing body and to study how we express it throughout our clothes, is very interesting and enriching. In addition, this process of analysis will helps us to understand the relation between our gender and sex under the context of religion, society and culture. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.title |
เซ็กส์กับแฟชั่น : ประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายผ่านมุมมองเรื่องเพศ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
เครื่องแต่งกาย |
th_TH |
dc.subject.keyword |
แฟชั่น |
th_TH |
dc.subject.keyword |
เพศ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
เพศสภาพ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Clothing |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Fashion |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Gender |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Sex |
th_TH |
dc.identifier.bibliograpycitation |
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (2012): มกราคม - มิถุนายน 2555 |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
เครื่องแต่งกายนับเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์มาเป็นระยะเวลานาน และมนุษย์เองก็หมกมุ่นในการให้ความสำคัญกับเสื้อผ้าและการตกแต่ง ร่างกายอย่างซับซ้อนมานับตั้งแต่อดีตจวบจนถึงปัจจุบัน จากเหตุผลของความต้องการพื้นฐานในช่วงก่อนประวัติศาสตร์ที่มนุษย์โบราณใช้เศษหนังและขนของสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารมาห่อหุ้มร่างกายเพื่อให้เกิดความอบอุ่น เครื่องแต่งกายได้กลายมาเป็นสิ่งที่มนุษย์ผูกพันและทำให้เกิดความสำคัญจนกระทั่งใช้มันเป็นเครื่องมือแทนสิ่งบอกฐานะ ชนชั้น และกำหนดสร้างความแตกต่างระหว่างกัน การศึกษาถึงพัฒนาการของเครื่องแต่งกายตะวันตกผ่านมุมมองที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของเพศ และปัญหาอันเกิดขึ้นกับร่างกายของมนุษย์ผ่านเครื่องแต่งกาย จึงเป็นการเลือกใช้วิธีการมองถึงประเด็นปัญหาดังกล่าว เพื่อทำให้มองเห็นการเชื่อมโยงที่ซับซ้อนทางความเชื่อ สังคม และวัฒนธรรม เข้ากับความพยายามในการใช้เครื่องแต่งกายเพื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุมหรือปลดปล่อยมนุษย์ภายใต้สภาวะอันซับซ้อนนั้น ทั้งยังช่วยเสริมให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของร่างกายกับเพศ ภายใต้แนวคิดที่เชื่อมโยงกับเครื่องแต่งกายของเราอีกด้วย |
th_TH |