dc.contributor.advisor |
วรรณวิไล ไกรเพ็ชร์ เอวานส์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ชนิพกรณ์ เจตบำรุงสิน |
th_TH |
dc.contributor.author |
ณัฐพร ทองผาสุข |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-08-25T09:12:57Z |
|
dc.date.available |
2023-08-25T09:12:57Z |
|
dc.date.issued |
2555 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28974 |
|
dc.description.abstract |
The aim of this chemical engineering project is to formulate an emulsion paint. The properties of hardness, specific gravity, viscosity and adhesion of the paint for iron coating dip industry were studied. The experimental results showed that the formulation of main parameters for the resin ratio of 46.01 percent, pigment ratio of 32.62 percent, solvent ratio of 18.83 percent, additive ratio of 2.11 percent and anti-rust ratio of 0.43 percent, were found to be the suitable formulation. From the property testing result, the pencil hardness scale is 4H, the specific gravity is 1.152, and the viscosity is 33.394 centistokes. The adhesion number is found to be 8 point,
which gives better adhesion condition than that of the oil painting. The emulsion paint obtained from this research can be used in the iron coating dip industry because it gives better adhesion condition, and cheaper than oil painting. It also anti-rusting and odorless. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การประยุกต์ใช้ใหม่สีอิมัลชันในกระบวนการชุบเหล็ก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The application of emulsion paint for iron coating dip industry |
th_TH |
dc.type |
Working Paper |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การชุบ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
สีอิมัลชั่น |
th_TH |
dc.subject.keyword |
อุตสาหกรรมเหล็ก |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
โครงงานวิศวกรรมเคมีนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตสีอิมัลชันในอัตราส่วนขององค์ประกอบของสีที่เหมาะสม และศึกษาคุณสมบัติด้านความแข็ง ด้านความถ่วงจำเพาะ ด้านความหนืด และด้านความติดแน่น เพื่อสามารถนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรมสำหรับการชุบลงบนเหล็กได้ จากการทดลองผลิตสีอิมัลชันในอุตสาหกรรมชุบเหล็ก พบว่าปริมาณองค์ประกอบในการผลิตที่มีอัตราส่วนเหมาะสมที่สุดในการผลิตสีอิมัลชัน คือ กาวเรซิน 46.01 เปอร์เซ็นต์ ผงสี 32.62 เปอร์เซ็นต์ นํ้า 18.83 เปอร์เซ็นต์ สารเติมแต่ง 2.11 เปอร์เซ็นต์ และสารกันสนิม 0.43 เปอร์เซ็นต์ สามารถนำไปใช้งานได้จริงในอุตสาหกรรมการชุบเหล็ก มีค่าความแข็งของฟิล์มสี มีระดับความแข็งสูงสุด เท่ากับ 4H ค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.152 ค่าความหนืด เท่ากับ 33.394 เซนติสโตกส์ และค่าความติดแน่นมีคะแนน เท่ากับ 8 ซึ่งเป็นค่าที่บ่งบอกถึงสมบัติการยึดติดที่สูง และสามารถป้องกันสนิมไม่ให้เกิดขึ้นบนชิ้นงานเหล็กได้ สีอิมัลชันที่ได้จากงานวิจัยนี้สามารถทดแทนสีนํ้ามันที่ใช้อยู่ได้ เนื่องจาก สามารถกันสนิมได้ มีสมบัติการยึดติดที่ดีกว่า มีราคาที่ถูกกว่า และยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์เพราะไม่มีกลิ่นเหม็นของสารระเหย |
th_TH |