DSpace Repository

การดูดซับไอออนโลหะหนักผสมในน้ำเสียสังเคราะห์แบบแข่งขันโดยใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ศิริวรรณ ศรีสรฉัตร์ th_TH
dc.contributor.author ชุติวัฒน์ ลิขิตาภรณ์ th_TH
dc.contributor.author วรัท กาญจนพิษณุ์ th_TH
dc.date.accessioned 2023-08-25T07:30:01Z
dc.date.available 2023-08-25T07:30:01Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28973
dc.description.abstract The aims of this engineering project were studied and compared the efficiency of competitive adsorption of Pb2 Cd2 Zn2 and Ni2 present in quaternary mixture with single metal solution by uncarbonized sunflower seed husk and carbonized sunflower seed husk at 600 °C which particle size were smaller than 90 micrometer at pH 5. The experimental results shown that the adsorption percentage by unmodified sunflower seed husk was in order of Cd2 > Pb2 > Zn2 > Ni2 in single metal ion solution and Pb2 > Cd2 > Zn2 > Ni2 in quaternary mixture. For carbonized sunflower seed husk, the adsorption percentage was in order of Pb2 > Cd2 > Zn2 > Ni2 in single ion metal solution and Pb2 > Cd2 > Zn2 > Ni2 in quaternary mixture respectively. The adsorption data of carbonized sunflower seed husk were fitted with Langmuir adsorption isotherms for Cd2 and Zn~ . In other hands. Ni’ and Pb2 were fitted to Freundlich adsorption isotherm. For the uncarbonized one all metal ion adsorptions were fitted to Freundlich adsorption isotherm. The adsorption process was found to follow a pseudo-second order rate mechanism for single metal ion adsorption process for competitive adsorption Cd2 Pb2 and Zn2 were found to follow a pseudo-second order. In contrast Ni2 adsorption, it was found to follow pseudo-first order. th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ th_TH
dc.title การดูดซับไอออนโลหะหนักผสมในน้ำเสียสังเคราะห์แบบแข่งขันโดยใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพ th_TH
dc.title.alternative Competitive adsorption of heavy metal ions in aqueous solution by modified sunflower seed husk th_TH
dc.type Working Paper th_TH
dc.subject.keyword การดูดซับ th_TH
dc.subject.keyword ทานตะวัน -- เมล็ด th_TH
dc.subject.keyword ไอออนโลหะ th_TH
dc.description.abstractthai โครงงานวิศวกรรมนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับไอออน โลหะหนักของแคดเมียม(ท) ตะกั่ว(ท) สังกะสี(ท) และนิกเกิล(ท) ในแบบเดี่ยวและแบบแข่งขันในสารละลายที่มีค่าทีเอช 5 โดยใช้วัสดุดูดซับเป็นเปลือกเมล็ดทานตะวันที่ผ่านการเผาจำกัดอากาศที่ 600 องศาเซลเซียส และเปลือกเมล็ดทานตะวันที่ไม่ได้ผ่านการเผา ขนาดเล็กกว่า 90 ไมโครเมตร พบว่าเปลือกเมล็ดทานตะวันที่ไม่ผ่านการเผามีแนวโน้มร้อยละการดูดซับไอออนโลหะหนักจากสารละลายชนิดเดี่ยวคือ แคดเมียม(ท) > ตะกั่ว(ท) > สังกะสี(ท) > นิกเกิล(ท) และในการดูดซับแบบแข่งขันมีแนวโน้มร้อยละการดูดซับไอออนโลหะหนักคือ ตะกั่ว(ท) > แคดเมียม(ท) > สังกะสี(ท) >นิกเกิล(ท) สำหรับวัสดุดูดซับที่ปรับสภาพด้วยการเผาจำกัดอากาศที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส มีแนวโน้มร้อยละการดูดซับไอออนโลหะหนักจากสารละลายโลหะชนิดเดี่ยวคือ ตะกั่ว(ท) >แคดเมียม(ท) > สังกะสี(ท) > นิกเกิล(ท) และในการดูดซับแบบแข่งขัน มีแนวโน้มร้อยละการดูดซับ ไอออนโลหะหนักคือ ตะกั่ว(ท) > แคดเมียม(ท) > สังกะสี(ท) > นิกเกิล(ท) ในวัสดุดูดซับที่ปรับสภาพด้วยการเผามีแบบจำลองการดูดซับ แคดเมียม(ท) และสังกะสี(ท) เป็นไปตามแบบจำลองการดูดซับของแลงเมียร์ ส่วนตะกั่ว(ท) และนิกเกิล(ท) เป็นตามแบบจำลองฟลอยด์ลิช ส่วนในวัสดุแบบไม่เผาการดูดซับโลหะทุกตัวเป็นไปตามแบบจำลองฟลอยด์ลิช การศึกษาจลนพลศาสตร์การดูดซับไอออนโลหะทั้งหมดในสารละลายแบบเดี่ยว เป็นไปตามสมการปฏิกิริยาอันดับที่สองเทียม ส่วนใน สารละลายผสมจลนพลศาสตร์การดูดซับแคดเมียม(ท) สังกะสี(ท) และตะกั่ว(ท) เป็นไปตามสมการปฏิกิริยาอันดับที่สองเทียมในขณะที่นิกเกิล(ท) เป็นไปตามสมการปฏิกิริยาอันดับที่หนึ่งเทียม th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics