dc.contributor.author |
กันตภณ จริโมภาส |
th_TH |
dc.contributor.author |
อติกานต์ ภู่สวรรค์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
องค์ บรรจุน |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-07-24T05:44:25Z |
|
dc.date.available |
2023-07-24T05:44:25Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28916 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 9 นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อโลกอนาคตด้านเทคโนโลยี |
th_TH |
dc.description.abstract |
The objectives of this research are 1) to assess the potential and obstacles of craft
beer business in Pak Kret District, Nonthaburi Province, 2) to present guidelines for the
development of craft beer tourism in Pak Kret District and communities in Thailand with
similar contexts. This is qualitative research using semi-structured interviews. The sample
group is craft beer business entrepreneurs, craft beer producers. Craft beer consumers and
people living in the contiguous areas where craft beer tourism is organized. Within Pak Kret
District, Nonthaburi Province The number of samples based on the triangle theory was
determined by 12 people. The results showed that the strength of the craft beer business in
Pak Kret district is that Pak Kret district is the birthplace of craft beer and has a reputation.
As a result, consumers know and choose to come to Pak Kret to drink, which is separate
from the identity of the community, which Pak Kret district itself has a community and
cultural identity that can go with craft beer. |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
The study of the guidelines for development of craft beer tourism in Pakkred district Nonthaburi |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
คราฟท์เบียร์ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
ปากเกร็ด |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การท่องเที่ยว |
th_TH |
dc.subject.keyword |
นนทบุรี |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Craft beer |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Craft beer Tourism |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Pakkred |
th_TH |
dc.subject.keyword |
Nontaburi |
th_TH |
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อประเมินศักยภาพและอุปสรรคของธุรกิจคราฟท์เบียร์ในอำเภอปาก
เกร็ด จังหวัดนนทบุรี 2) เพื่อนำเสนอแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ในอำเภอปากเกร็ด
และชุมชนต่าง ๆ ของประเทศไทยที่มีบริบทพื้นที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์
แบบกึ่งโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบการธุรกิจคราฟท์เบียร์ ผู้ผลิตคราฟท์เบียร์ ผู้บริโภคคราฟท์เบียร์
และผู้คนที่อาศัยอยู่ระแวกพื้นที่สืบเนื่องบริเวณพื้นที่ที่มีการจัดการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ ภายในพื้นที่
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ผู้มีส่วนร่วมในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ และผู้เคลื่อนไหว
ประเด็นกฎหมายคราฟท์เบียร์ โดยมีการกำหนดจำนวนของกลุ่มตัวอย่างตามทฤษฎีสามเส้าจำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า จุดแข็งของธุรกิจคราฟท์เบียร์ในอำเภอปากเกร็ดคือการที่อำเภอปากเกร็ดนั้นเป็นจุดกำเนิด
คราฟท์เบียร์และมีชื่อเสียง จึงส่งผลให้ผู้บริโภคต่างรู้จักและเลือกเดินทางมาดื่มที่ปากเกร็ด ซึ่งจะแยกกันกับอัต
ลักษณ์ของชุมชน ซึ่งอำเภอปากเกร็ดเองนั้นมีอัตลักษณ์ทางด้านชุมชนและวัฒนธรรมที่สามารถเข้ากับคราฟท์
เบียร์ได้ อีกทั้งยังมีอาหารที่มีเอกลักษณ์ ซึ่งสามารถเกิดกิจกรรมร่วมกันได้ทั้ง 2 กิจการ ด้วยวิธีการคิดของคน
ในชุมชนและคนนอกที่มองเข้ามาและการจัดกิจกรรมร่วมกันสามารถส่งเสริมรายได้ซึ่งกันและกันได้ จุดอ่อน
ของธุรกิจคราฟท์เบียร์ในอำเภอปากเกร็ดคือคราฟท์เบียร์ยังไม่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว แต่จะเน้นขายในเรื่องของ
รสชาติที่ต่างกัน รวมถึงสภาพบรรยากาศรอบ ๆที่จะเป็นจุดดึงดูดโอกาสในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์ เบียร์ในพื้นที่นั้นคือการที่ทุกคนเปิดใจยอมรับการจัดกิจกรรมร่วมกัน ปรับตัวเข้าใจซึ่งกันและกัน อย่างไรก็ตาม
อุปสรรคใหญ่ที่สุดของการทำธุรกิจหรือพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคราฟท์เบียร์ คือกฎหมายที่เกี่ยวข้องไม่เอื้อต่อ
การผลิต ทำธุรกิจ หรือสร้างกิจกรรมการท่องเที่ยวได้ |
th_TH |