dc.contributor.author | นัทธพัชร์ น้อยสวัสดิ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-22T01:30:23Z | |
dc.date.available | 2023-06-22T01:30:23Z | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28651 | |
dc.description.abstract | The purpose of this research is (1) to study guidelines for the development of the Ja Thawee Folk Museum (2) to develop a 3D Augmented Reality to provide useful and interesting information for tourists. (3) to study tourists satisfaction of 3D Augmented Reality with the local museum Sergeant Thawee. The sample group is a tourist group. Who visited the museum at the Ja Thawee Folk Museum in the amount of 40 people using a purposive sampling By selecting from tourists, students using data collection from questionnaires and interviews. The research methodology is starting to collect basic information of the Ja Thawee Folk Museum from the observation of travel to the reason, the nature of the walk, the interest and satisfaction of tourists, and the creation of a virtual image of the AR form from the object. Show selected 50 works to be tested with the sample group, how interested and satisfied with AR technology. The research found that (1) Watching behavior and time spent in viewing the exhibition can be divided into 4 types, which are walk-through groups, groups that are interested in exhibit objects Read a little description and walk past, a group that is very interested in exhibiting objects. Read the description carefully, the group that has a tour guide. (2) The exhibition of the Ja Thawee Folk Museum is divided into 5 parts as follows: Belief Exhibition, Language and Literature Exhibition, Art and Folk Crafts Exhibition, Music Exhibition and Play, Life and Living Exhibition (3) The format of the display of objects in the museum is divided into 4 types, which are arranged according to size, arrangement by time period, arrangement of functions, modeling of images. (4) The exhibition format is divided into 3 types, namely, real objects, images, text and from the questionnaire about satisfaction with the use of 3D virtual reality technology. AR format has 100 percent satisfaction from the sample group. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.title | การสร้างสรรค์ภาพ ๓ มิติเสมือนจริงในรูปแบบ AR เพื่อการท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี | th_TH |
dc.title.alternative | The Creating of 3D Augmented Reality for Tourism Ja Thawee Folk Museum | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.subject.keyword | ภาพ 3 มิติเสมือนจริง | th_TH |
dc.subject.keyword | การท่องเที่ยว | th_TH |
dc.subject.keyword | พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน | th_TH |
dc.subject.keyword | 3D Augmented Reality | th_TH |
dc.subject.keyword | Tourism | th_TH |
dc.subject.keyword | Folk Museum | th_TH |
dc.description.abstractthai | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (๑) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี (๒) เพื่อพัฒนาภาพ ๓ มิติเสมือนจริงในรูปแบบ AR ให้สามารถนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์และสร้างความน่าสนใจให้กับนักท่องเที่ยว (๓) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของการใช้ภาพ ๓ มิติเสมือนจริงรูปแบบ AR กับพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่เดินทางมาท่องเที่ยวที่พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี จำนวน ๔๐ คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง โดยเลือกจากนักท่องเที่ยวกลุ่มนักเรียน นักศึกษา เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยคือเริ่มเก็บข้อมูลพื้นฐานของพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวีจากการสังเกตการณ์พฤติกรรม และความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวและทำการสร้างสรรค์ผลงานภาพเสมือนจริงรูปแบบ AR จากวัตถุจัดแสดงที่คัดเลือกมาจำนวน ๕๐ ผลงานเพื่อนำมาทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างว่ามีความสนใจและพึงพอใจอย่างไรกับการชมนิทรรศการ แบ่งได้เป็น ๔ แบบ คือ กลุ่มเดินชมแบบผ่าน ๆ กลุ่มที่ให้ความสนใจกับวัตถุจัดแสดง อ่านคำอธิบายเล็กน้อยแล้วเดินผ่านไป กลุ่มที่ให้ความสนใจกับวัตถุจัดแสดงมาก อ่านคำอธิบายอย่างละเอียด และกลุ่มที่มีมัคคุเทศก์นำชม (๒) นิทรรศการของพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี แบ่งเป็น ๕ ส่วน ดังนี้ นิทรรศการความเชื่อ นิทรรศการภาษาและวรรณกรรม นิทรรศการศิลปะและหัตกรรมพื้นบ้าน นิทรรศการดนตรีและการละเล่น และนิทรรศการวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ (๓) รูปแบบการจัดแสดงวัตถุในพิพิธภัณฑ์ แบ่งเป็น ๔ แบบ คือ การจัดตามขนาด การจัดตามช่วงเวลา การจัดตามประโยชน์ใช้สอย และการจัดภาพหุ่นจำลอง (๔) รูปแบบการจัดนิทรรศการแบ่งเป็น ๓ แบบ คือ วัตถุจริง รูปภาพ ข้อความ และจากการทำแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการใช้เทคโนโลยีภาพเสมือนจริง ๓ มิติรูปแบบ AR ได้ผลความ พึงพอใจ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด | th_TH |