dc.contributor.author |
สมพงษ์ สุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
ชาคริต ชุ่มวัฒนะ |
|
dc.contributor.author |
โดม ไกรปกรณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-16T01:58:52Z |
|
dc.date.available |
2023-06-16T01:58:52Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28511 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 11 |
|
dc.description.abstract |
The purpose of research article was to study tax collection from agriculture in Phra Samut Chedi, Samut Prakan, B.E. 2372 – 2482. It started in the reign of King Nangklao that reformed the tax collection. The reformed tax collection was ended by the approval of the House of Representatives established after the revolution in 1932 because it was no longer appropriate in that period. The results of the research reavealed that there was a relationship between the landuse of Phra Samut Chedi, Samut Prakan and tax collection. There were 4 types of tax collection on agriculture: large-garden tax, nipa palm tax, rice tax and salt tax. The first type, nipa palm tax, started in B.E. 2372 and all types ended by the concent of the House of Representatives by B.E. 2482. |
|
dc.subject |
อำเภอพระสมุทรเจดีย์ |
|
dc.subject |
ภาษี |
|
dc.subject |
สมุทรปราการ |
|
dc.subject |
Amphoe Phra Samut Chedi |
|
dc.subject |
Tax collection |
|
dc.subject |
Samut Prakan |
|
dc.title |
การจัดเก็บภาษีจากการทำเกษตรกรรมภายในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่าง พ.ศ. 2372-2482 |
|
dc.title.alternative |
Tax Collection from Agriculture in Phra Samut Chedi, Samut Prakan,
B.E. 2372-2482 |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
บทความวิจัยนี้ศึกษาการจัดเก็บภาษีจากการใช้พื้นที่เพื่อการทำเกษตรกรรมภายในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ระหว่าง พ.ศ. 2372 - 2482 เมื่อเริ่มมีการจัดระบบการเก็บภาษีอย่างเป็นรูปธรรมขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จนกระทั่งมีสภาผู้แทนราษฎรภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และพบว่าภาษีที่จัดเก็บมาแต่เดิมไม่เหมาะสมกับยุคสมัย ผลการศึกษาพบว่า การเรียกเก็บภาษีที่เกี่ยวกับการใช้พื้นที่เพื่อการทำเกษตรกรรมภายในอำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการนั้นมีทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ 1) “อากรสวนจาก” เรียกเก็บจากการทำสวนจาก 2) “อากรสวนใหญ่” เรียกเก็บจากการทำสวนผลไม้ หรือสวนไม้ยืนต้นประเภทต่างๆ 3) “อากรค่านา” เรียกเก็บจากพื้นที่การเพาะปลูกข้าว และ 4) “อากรนาเกลือ” เรียกเก็บจากการใช้พื้นที่ผลิตเกลือ การเก็บภาษีเบื้องต้นเริ่มจาก “อากรสวนจาก” ใน พ.ศ. 2372 และยุติการเก็บภาษีทุกประเภทตามมติของสภาผู้แทนราษฎรใน พ.ศ. 2482 |
|