dc.contributor.author |
พชรพร สุรรณโชติ |
th_TH |
dc.contributor.author |
พีรศิลป์ บุญนาค |
th_TH |
dc.contributor.author |
มณลดา บินอับดุลเลาะมาน |
th_TH |
dc.contributor.author |
ณัฐวีร์ จิตติธนะศักดิ์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
ปาริฉัตร เบ็ญจขันธ์ |
th_TH |
dc.contributor.author |
พิมพ์ลภัส เทพวงศ์ษา |
th_TH |
dc.contributor.author |
อัญชัญ ตัณฑเทศ |
th_TH |
dc.date.accessioned |
2023-06-15T10:30:54Z |
|
dc.date.available |
2023-06-15T10:30:54Z |
|
dc.date.issued |
2566 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28502 |
|
dc.description |
The First National Symposium on Business Administration |
|
dc.description.abstract |
The objectives of this research were to study behavior, tourism motivation, and factors affecting the
decision of wellness tourism in the type of spa massage of tourists in Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan
Province. This research was a quantitative research. The sample was 385 Thai tourists aged range from 18
years old or over, who used a day spa massage service in Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan Province.
Questionnaires were used as a tool for collecting data. The statistics used to analyze the data, are Frequency
Distribution, Percentage, Arithmetic Mean (𝐱̅) and Standard Deviation (S.D.), and One-Way ANOVA. The results
found that: 1. Most of the respondents were female aged between 21 - 30 years old. Their most status were
single. Most respondents graduated in bachelor's degree or equivalent and worked as an employee of a
private company. Moreover, they earned an average monthly income of 15,001 - 25,000 baht.
2. Most respondents did not stay overnight and had a main purpose for relaxing. The activity, which
is chosen by most tourists, was a Thai massage. Most travel styles were traveling with family/lovers traveling
by a private car. Moreover, travel costs are mostly 3,001-5,000 bath. The travel plan was based on
accommodation and the perception of spa massage information is mainly from social media.
3. As for the level of motivation of tourists for making a decision on health tourism in type of spa
massage, the overall push factors was at the highest level (𝐱̅ = 4.302, S.D. = 0.628). Considering the different
levels of motivation, the highest level of motivation was safety. (𝐱̅ = 4.567, S.D. = 0.536). While the overall
pull factor was at the highest level (𝐱̅ = 4.468, S.D. = 0.585). When considering each aspect, the result found
that the motivation level was the highest in all aspects. The aspect with the highest level of motivation was
personnel (𝐱̅ = 4.612, S.D. = 0.516).
4. The results of demographic comparison showed that occupation had an effect on the push factor
for wellness tourism decision making and the main tourism destination of tourists will affect the push factors
and pull factors of wellness tourism decision making. However, age and income had no effect on the push
factor and the pull factor in the decision-making of wellness tourism. Moreover, the comparison of activities
performed during the trip had no effect on the push factors for wellness tourism decisions with statistical
significance at the 0.05 level. |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.title |
การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กรณีศึกษาการนวดสปาในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ |
th_TH |
dc.title.alternative |
The study of factors affecting the decision for wellness tourism in case of Spa Massage in Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan |
|
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การตัดสินใจ |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การนวดสปา |
th_TH |
dc.subject.keyword |
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ |
|
dc.subject.keyword |
เดย์สปา |
|
dc.subject.keyword |
wellness tourism |
|
dc.subject.keyword |
spa massage |
|
dc.subject.keyword |
day spa |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม แรงจูงใจทางการท่องเที่ยว
และปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปาของนักท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่ม ตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวไทย
ช่วงอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปที่เลือกใช้บริการนวดสปา แบบเดย์ สปา ในอำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาค่าร้อยละ (Percentage)
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̄) และการหาค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)
และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 21 – 30 ปี มีสถานภาพโสด
ระดับการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 25,000 บาท
2. พฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่ตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา ส่วนใหญ่ไม่พักค้างคืน
มีวัตถุประสงค์หลักใน การเดินทางท่องเที่ยวคือ เพื่อผ่อนคลาย
กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวเลือกใช้บริการมากที่สุด คือ นวดแผนไทย รูปแบบลักษณะการ เดินทางส่วนใหญ่ คือ
เดินทางกับครอบครัว/คนรัก เดินทางโดยรถส่วนตัว มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางส่วนใหญ่อยู่ที่ 3,001-5,000
บาท มีการวางแผนการเดินทางในเรื่องของที่พักมากที่สุด และการรับรู้ถึงข้อมูลการ
นวดสปา ส่วนใหญ่ คือ สื่อโซเชียลมีเดีย
3. ระดับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา
ในด้านปัจจัยผลักดันโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄=4.302,S.D.=0.628)เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า
มีระดับแรงจูงใจที่แตกต่างกัน โดยด้านที่มีระดับ แรงจูงใจมากที่สุดคือด้านความมั่นคงปลอดภัย
(x̄=4.567,S.D.=0.536)ส่วนในด้านปัจจัยดึงดูดโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.468, S.D. = 0.585)
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยด้านที่มีระดับแรงจูงใจ
มากที่สุด คือ ได้แก่ ด้านบุคลากร (งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม แรงจูงใจทางการท่องเที่ยว
และปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปาของนักท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวไทย
ช่วงอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปที่เลือกใช้บริการนวดสปา แบบเดย์ สปา ในอำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาค่าร้อยละ (Percentage)
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̄ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม แรงจูงใจทางการท่องเที่ยว
และปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว เชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปาของนักท่องเที่ยวในอำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่ม ตัวอย่างคือ นักท่องเที่ยวชาวไทย
ช่วงอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปที่เลือกใช้บริการนวดสปา แบบเดย์ สปา ในอำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์
จานวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
โดยมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาค่าร้อยละ (Percentage)
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̄) และการหาค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)
และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 21 – 30 ปี มีสถานภาพโสด
ระดับการศึกษาระดับปริญญา ตรีหรือเทียบเท่า ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 25,000 บาท
2. พฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่ตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา ส่วนใหญ่ไม่พักค้างคืน
มีวัตถุประสงค์หลักใน การเดินทางท่องเที่ยวคือ เพื่อผ่อนคลาย
กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวเลือกใช้บริการมากที่สุด คือ นวดแผนไทย รูปแบบลักษณะการ เดินทางส่วนใหญ่ คือ
เดินทางกับครอบครัว/คนรัก เดินทางโดยรถส่วนตัว มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางส่วนใหญ่อยู่ที่ 3,001-5,000
บาท มีการวางแผนการเดินทางในเรื่องของที่พักมากที่สุด และการรับรู้ถึงข้อมูลการนวดสปา ส่วนใหญ่ คือ สื่อโซเชียลมีเดีย
3. ระดับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา
ในด้านปัจจัยผลักดันโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ =4.302,S.D.=0.628) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า
มีระดับแรงจูงใจที่แตกต่างกัน โดยด้านที่มีระดับ แรงจูงใจมากที่สุดคือด้านความมั่นคงปลอดภัย
(x̄ =4.567,S.D.=0.536)ส่วนในด้านปัจจัยดึงดูดโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.468, S.D. = 0.585)
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยด้านที่มีระดับแรงจูงใจ
มากที่สุด คือ ได้แก่ ด้านบุคลากร (x̄ = 4.612, S.D. = 0.516)
4.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์
พบว่าอาชีพมีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ
แต่อายุและรายได้ไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
และผลการเปรียบเทียบ
วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางของนักท่องเที่ยวมีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และ
การเปรียบเทียบกิจกรรมที่ทาระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ) และการหาค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)
และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า
1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 21 – 30 ปี มีสถานภาพโสด
ระดับการศึกษาระดับปริญญา ตรีหรือเทียบเท่า ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน
และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 - 25,000 บาท
2. พฤติกรรมนักท่องเที่ยวที่ตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา ส่วนใหญ่ไม่พักค้างคืน
มีวัตถุประสงค์หลักใน การเดินทางท่องเที่ยวคือ เพื่อผ่อนคลาย
กิจกรรมที่นักท่องเที่ยวเลือกใช้บริการมากที่สุด คือ นวดแผนไทย รูปแบบลักษณะการ เดินทางส่วนใหญ่ คือ
เดินทางกับครอบครัว/คนรัก เดินทางโดยรถส่วนตัว มีค่าใช้จ่ายในการเดินทางส่วนใหญ่อยู่ที่ 3,001-5,000
บาท มีการวางแผนการเดินทางในเรื่องของที่พักมากที่สุด และการรับรู้ถึงข้อมูลการนวดสปา ส่วนใหญ่ คือ
สื่อโซเชียลมีเดีย
3. ระดับแรงจูงใจของนักท่องเที่ยวในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ประเภทนวดสปา
ในด้านปัจจัยผลักดันโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄=4.302,S.D.=0.628)เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า
มีระดับแรงจูงใจที่แตกต่างกัน โดยด้านที่มีระดับ แรงจูงใจมากที่สุดคือด้านความมั่นคงปลอดภัย
(x̄=4.567,S.D.=0.536)ส่วนในด้านปัจจัยดึงดูดโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.468, S.D. = 0.585)
เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า มีระดับแรงจูงใจอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยด้านที่มีระดับแรงจูงใจ
มากที่สุด คือ ได้แก่ ด้านบุคลากร (x̄ = 4.612, S.D. = 0.516)
4.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์
พบว่าอาชีพมีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ
แต่อายุและรายได้ไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
และผลการเปรียบเทียบ
วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางของนักท่องเที่ยวมีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเ
ที่ยวเชิงสุขภาพ และ
การเปรียบเทียบกิจกรรมที่ทาระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ย
วเชิงสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 x̄ = 4.612, S.D. = 0.516)
4.ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์
พบว่าอาชีพมีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิง สุขภาพ
แต่อายุและรายได้ไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
และผลการเปรียบเทียบ
วัตถุประสงค์หลักในการเดินทางของนักท่องเที่ยวมีผลต่อปัจจัยผลักดันและปัจจัยดึงดูดในการตัดสินใจท่องเ
ที่ยวเชิงสุขภาพ และ
การเปรียบเทียบกิจกรรมที่ทeระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวไม่มีผลต่อปัจจัยผลักดันในการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 |
|