dc.contributor.author |
กัลป์ กลับแสง |
|
dc.contributor.author |
วิวัฒน์ อุดมปิติทรัพย์ |
|
dc.contributor.author |
สุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-13T09:48:47Z |
|
dc.date.available |
2023-06-13T09:48:47Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28471 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 วันที่ 17 มิถุนายน 2559 |
|
dc.description.abstract |
A study CA-MARKOV Urban Growth Model Study Area: Muang District, Samutsakorn Province has an objective to compare the numerical and spatial accuracy of CA-MARKOV model in prediction of urban growth and to predict the urban growth in 2020. This study has used the Landuse data that collect from Land Development Department (2002, 2007 and 2012) to predict the urban growth in 2016 by using CA-MARKOV model and verify the accuracy of model’s output by compare the landuse data of satellite image, Landsat 7 ETM (2016) and Error Matrix. The results of study found out that CA-MARKOV model has accuracy of overall landuse by 83.06 percent and the accuracy of urban area by 81.81 percent. And the simulated result of 2020 found out that urban area was increased by 33.60 km2 and the others area reduced by 34.60 km2 |
|
dc.subject |
แบบจำลองซีเอ-มาร์คอฟ |
|
dc.subject |
การขยายตัวของเมือง |
|
dc.subject |
CA-MARKOV |
|
dc.subject |
Urban Growth Model |
|
dc.title |
การศึกษาแบบจำลองการขยายตัวของเมืองซีเอ-มาร์คอฟ CA-MARKOV
กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร |
|
dc.title.alternative |
The Study of CA-MARKOV Urban Growth Model Study Area:
Muang District, Samutsakorn Province |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
การศีกษาแบบจำลองการขยายตัวของเมืองซีเอ-มาร์คอฟ CA-MARKOV กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร มีวัตถุประสงค์ เพื่อเทียบความถูกต้องเชิงตัวเลขและเชิงพื้นที่ของแบบจำลองซีเอ-มาร์คอฟ CA-MARKOV กับการขยายตัวของเมืองและคาดการณ์การขยายตัวของเมืองในปี พ.ศ. 2563 โดยในการศึกษาได้ใช้ข้อมูลการใข้ที่ดิน ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากกรมพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2545, 2550 และ 2555 เพื่อทำการคาดกาณ์การขยายตัวของเมืองในปี พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบจำลองทั้ง 2 ชนิด และทำการตรวจสอบความถูกต้องใกล้เคียงด้วยภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 7 ETM พ.ศ. 2559 โดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้จากแบบจำลองกับข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2559 ด้วยตารางคำนวณค่าผิดพลาด (Error Matrix) ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองซีเอ-มาร์คอฟ CA-MARKOV มีค่าความถูกต้องรวม ร้อยละ 83.06 และเมื่อพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงรูปการใช้ประโยชน์ที่ดินทั้งหมดนอกเหนือจากการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พบว่าแบบจำลองซีเอ-มาร์คอฟ CA-MARKOV มีค่าความถูกต้องร้อยละ 81.81 และเมื่อทาการจาลองการใช้ประโยชน์ที่ดิน พ.ศ. 2563 พบว่ามีการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพื้นที่ชุมชนเพิ่มขึ้น 33.60 ตารางกิโลเมตร และพื้นที่อื่นๆลดลง 34.60 ตารางกิโลเมตร |
|