DSpace Repository

สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงทางด้านการเมืองในสมัยราชวงศ์ถังตอนต้น (ค.ศ. 618-754)

Show simple item record

dc.contributor.author He Ting
dc.contributor.author ศิริพร ดาบเพชร
dc.date.accessioned 2023-06-13T09:45:40Z
dc.date.available 2023-06-13T09:45:40Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28465
dc.description รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8
dc.description.abstract This thesis will mainly research for the political status of women during the early period of Tang dynasty (618-754). This research is based on the analysis from the historical books and the data from the primary sources which are related to the political status of women during the early period of Tang dynasty. For example, the old Tang historical books which were written in the period of division called five dynasties and ten kingdoms and the new Tang historical books which were written in the Northern Song Dynasty time. In conclusion, this thesis will research the political status of women during the early Tang dynasty by the historical books and secondly sources. In ancient Chinese society, male chauvinism prevails and women were inferior, which lead to the result that the rights to participate in politics are for the male-only and women have no right to do so. This research will focus on the political status of women in the early Tang dynasty. As the result, the research indicated that the status of women in the early Tang dynasty were obviously outstanding compared with other periods in Chinese history. However, due to the opened society and the diverse culture of Tang Dynasty, and due to the free trade on the Silk Road. Consequently, there are the cultural exchanges between countries. As the result, women have more social right comparing to Confucius culture in the past, which is the foundation of ancient Chinese which the men have more social right that women. Women's rights grow and even can be equal to men. Due to the following two reasons that on the one hand, aristocratic women who as the empress and women who take positions in the royal palace have the access to the emperor and the center of power. On the other hand, the regulations of the palace are not strict. Thus women have the opportunity to intervene in politics and play a very important role in it, which also affects the ordinary women, offering them the opportunity to join politics.
dc.subject สถานภาพ
dc.subject บทบาท
dc.subject ผู้หญิง
dc.subject การเมือง
dc.subject ราชวงศ์ถัง
dc.subject Status
dc.subject Role
dc.subject Women
dc.subject Political
dc.subject Tang Dynasty
dc.title สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงทางด้านการเมืองในสมัยราชวงศ์ถังตอนต้น (ค.ศ. 618-754)
dc.title.alternative The Political Status and Role of Women in the Early Tang China, 618-754
dc.type Article
dc.description.abstractthai บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพและบทบาทผู้หญิงทางด้านการเมืองในสมัยราชวงศ์ถังตอนต้น (ค.ศ. 618-754) การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยที่ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากหลักฐานประเภทหนังสือ เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพผู้หญิงทางด้านการเมืองในราชวงศ์ถังตอนต้นซึ่งเป็นหลักฐานชั้นต้น เช่น ประวัติศาสตร์ราชวงศ์ถังฉบับเก่าซึ่งแต่งขึ้นในยุคห้าราชวงศ์สิบอาณาจักร (The Five Dynasties and Ten Kingdoms Period ค.ศ. 902-979) กับประวัติศาสตร์ราชวงศ์ถังฉบับใหม่ซึ่งแต่งขึ้นในสมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ (Northern Song Dynasty ค.ศ. 960-1127) นอกจากนั้นยังวิเคราะห์หนังสือและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสถานภาพผู้หญิงทางด้านการเมืองในสมัยราชวงศ์ถังตอนต้นซึ่งเป็นหลักฐานชั้นรอง ในสังคมโบราณของจีนที่ถือผู้ชายเป็นหลัก ผู้หญิงเป็นรอง ทำให้สิทธิการเข้าร่วมการเมืองจึงเป็นสิทธิเฉพาะผู้ชายเท่านั้น ผู้หญิงไม่สามารถเข้าร่วมการเมืองได้ ผลการศึกษาพบว่าสภาพสังคมและความคิดในสมัยราชวงศ์ถังตอนต้นส่งผลให้สถานภาพผู้หญิงในสมัยนี้มีความโดดเด่นแตกต่างจากสมัยอื่น ๆ คือ สังคมราชวงศ์ถังตอนต้นมีความหลากหลายทางวัฒนธรรมทำให้สังคมเปิดกว้างและไม่ยึดติดกับลัทธิขงจื๊อเหมือนสมัยก่อน เนื่องจากการเปิดกว้างด้านการค้าขายบนเส้นทางสายไหมทั้งทางน้ำและทางบกช่วยส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศ จึงมีวัฒนธรรมให้สิทธิเสรีภาพให้ผู้หญิงมากกว่าลัทธิขงจื๊อที่เป็นรากฐานความเชื่อสำคัญโบราณของจีนซึ่งเป็นลัทธิให้ความสำคัญกับผู้ชาย ทาให้ผู้หญิงจานวนมากเริ่มมีโอกาสในทางการเมืองโดยมีสิทธิแสดงความสามารถของตัวเองบนเวทีการเมืองได้เช่นเดียวกับผู้ชาย โดยเฉพาะผู้หญิงชนชั้นสูงซึ่งในฐานะเป็นจักรพรรดินี องค์หญิงและหญิงที่รับตาแหน่งในราชวัง เป็นต้น เนื่องจากผู้หญิงกลุ่มนี้อยู่ใกล้ชิดกับจักรพรรดิและศูนย์กลางอานาจ ประกอบกับกฎระเบียบของราชวังไม่เข้มงวดจึงทำให้ผู้หญิงมีโอกาสแทรกแซงทางการเมืองและมีบทบาทสำคัญมากทางด้านการเมือง อีกทั้งยังส่งผลทำให้กลุ่มผู้หญิงสามัญชนได้เข้าร่วมการเมืองด้วย


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account

Statistics