dc.contributor.author |
โดม ไกรปกรณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-13T09:45:40Z |
|
dc.date.available |
2023-06-13T09:45:40Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28464 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9 |
|
dc.description.abstract |
This research paper aims to study the bureaucracy’s history, as the elites in the absolute Monarchy in Siam established it as a political mechanism to govern the country. The purpose of this paper also includes the study of the problems concerning the political mechanism, that could lead to the revolution in 1932. Historical methodology should be used in this study, which finds out that, the bureaucracy, as a political mechanism, was established by the elites as a mean to concentrate the power on the king. In doing this, the example of the western countries was followed. However, the bureaucracy caused many problems in practice, such as, the overlapping of power between the King and his ministers, the lacking of manpower with high potential, the conflicts between the offices, as well as the layoff of many officer dues to economic problem. These were part of the caused leading to the revolution in 1932. |
|
dc.subject |
กลไกทางการเมือง |
|
dc.subject |
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ |
|
dc.subject |
ระบบราชการ |
|
dc.subject |
Political Mechanism |
|
dc.subject |
Absolute Monarchy |
|
dc.subject |
Bureaucracy |
|
dc.title |
ปัญหาของกลไกทางเมืองในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับการปฏิวัติ 2475 ของสยาม:
กรณีศึกษาระบบราชการ |
|
dc.title.alternative |
The Problem concerning the political Mechanism, absolute Monarchy and the Revolution in 1932 in Siam: Case Study of Thai Bureaucracy |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
บทความวิจัยนี้ต้องการศึกษาความเป็นมาของระบบราชการซึ่งเป็นกลไกทางการเมืองที่ชนชั้นนาสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (พ.ศ. 2435-2475) สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการบริหารราชการ และปัญหาของกลไกทางการเมืองที่นำไปสู่การปฏิวัติ 2475 โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ จากการศึกษาพบว่า ระบบราชการเป็นกลไกทางการเมืองที่ชนชั้นนำสยามสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ตั้งขึ้นตามแบบระบบราชการของประเทศตะวันตกเพื่อใช้ในการรวมอำนาจสู่พระมหากษัตริย์ อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติแล้วระบบราชการที่ใช้อยู่ในเวลานั้นประสบปัญหาหลายประการ ได้แก่ ความเหลื่อมซ้อนกันระหว่างอำนาจของกษัตริย์กับอำนาจของเสนาบดีกระทรวง การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถระดับสูง ความขัดแย้งระหว่างหน่วยราชการด้วยกัน การให้ข้าราชการออกจากงานเนื่องจากรัฐบาลต้องการลดรายจ่าย อันเป็นปัจจัยหนึ่งที่นำมาสู่การปฏิวัติ 2475 |
|