dc.contributor.author |
โดม ไกรปกรณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-13T09:45:40Z |
|
dc.date.available |
2023-06-13T09:45:40Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28463 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8 |
|
dc.description.abstract |
This article investigates the empowerment of Siamese government during the end of 1890s to 1910s which was the period of Western modernization in Siam. The study focuses on an analysis of medical knowledge application to state empowerment according to Michel Foucault’s analysis approach to this issue in the early modern period of Western societies (17th-18th Centuries) The article studies the cases of applying psychiatry to control “madmen” who were marginal people in the society. From the study of historical information, it shows that before the psychiatric knowledge was adopted into Siamese society, the diagnosis and management for who was a “madman” was based on traditional Thai medical knowledge or opinion from political leaders. Once the psychiatric knowledge was brought to Siam, the diagnosis and management of “madmen” was based on this modern knowledge along with the training and punishment required to keep the “madmen” in discipline in the same way of establishment of the state power over the population who was treated as a “madman” in Western society. |
|
dc.subject |
จิตเวชศาสตร์ |
|
dc.subject |
คนบ้า |
|
dc.subject |
ชีวการเมือง |
|
dc.subject |
psychiatry |
|
dc.subject |
madman |
|
dc.subject |
biopolitics |
|
dc.title |
จิตเวชศาสตร์กับการสร้างอำนาจของรัฐบาลสยาม
ในช่วงปลายทศวรรษ 2440 - ทศวรรษ 2460: ข้อเสนอเบื้องต้น |
|
dc.title.alternative |
Psychiatry and the Empowerment of Siamese Government
During the End of 1890s to 1910s: Preliminary Proposal |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
บทความนี้ศึกษาเกี่ยวกับการสร้างอำนาจของรัฐบาลสยามในช่วงปลายทศวรรษ 2440-ทศวรรษ 2460 ซึ่งเป็นยุคของการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยแบบตะวันตก โดยมุ่งเน้นวิเคราะห์ประเด็นการใช้ความรู้ทางการแพทย์ในการสร้างอำนาจรัฐตามแนวทางที่ Michel Foucault ได้วิเคราะห์เรื่องดังกล่าวที่ปรากฏในสังคมตะวันตกยุคต้นสมัยใหม่ (คริสต์ศตวรรษที่ 17-18) ในบทความนี้ศึกษากรณีการนำเอาความรู้ด้านจิตเวชศาสตร์มาใช้ในการควบคุม “คนบ้า” ซึ่งเป็นคนชายขอบในสังคม จากการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์แสดงให้เห็นว่าก่อนหน้าที่ความรู้ด้านจิตเวชศาสตร์จะถูกนาเข้ามาในสังคมสยาม การวินิจฉัยว่าผู้ใดเป็น “คนบ้า” และการจัดการตั้งอยู่บนความรู้ทางการแพทย์แผนไทยหรือไม่ก็ด้วยทัศนะของผู้นำทางการเมือง แต่เมื่อมีการนำเอาความรู้ด้านจิตเวชศาสตร์เข้ามาในสังคมสยาม การวินิจฉัยและจัดการ “คนบ้า” จะอิงกับความรู้ใหม่นี้ควบคู่ไปกับการฝึกฝนและลงโทษเพื่อให้ “คนบ้า” มีระเบียบวินัยในลักษณะเดียวกับการสถาปนำอานาจของรัฐเหนือประชากรที่เป็น “คนบ้า” ในสังคมตะวันตก |
|