dc.contributor.author |
ธนสรณ์ สุมังคละกุล |
|
dc.contributor.author |
ณัฐพร ไทยจงรักษ์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-13T09:45:39Z |
|
dc.date.available |
2023-06-13T09:45:39Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28455 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9 |
|
dc.description.abstract |
The contest of Miss Thailand started in 1934 by the government and ministry of interior. The purposes of this competition are to find a proper lady to be presented the dignity of the constitution and also entertain audients in the celebration of constitution. In 1939, Field Marshal Plaek Pibulsongkram the prime minister established the state convention especially the content related to health and the dressing of women according to the western style. Consequently, Miss Thailand became a national prototype of Thai women to be taking care of their health than before. The study indicated that the role of Miss Thailand during 1934-1954 focus on providing support the government activities and various policies. During her reigning, The winner of Miss Thailand was popular and was honorably invited to attend in many charity events, some entertainments and advertisements still relating with charity as well. From the duties, the image of Miss Thailand during 1934 – 1954 was mentioned and recognized as a role model, It was preserved to the honor and dignity of the nation. |
|
dc.subject |
นางสาวไทย |
|
dc.subject |
Miss Thailand |
|
dc.title |
บทบาทของนางสาวไทย ระหว่าง พ.ศ. 2477-2497 |
|
dc.title.alternative |
The role of Miss Thailand during 1934 - 1954 |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
การประกวดนางสาวไทยเริ่มต้นขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2477 เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยรัฐบาล ภายใต้การดำเนินงานของกระทรวงมหาดไทย เพื่อหาสตรีมาเป็นศรีสง่าแก่รัฐธรรมนูญ รวมทั้งเป็นกิจกรรมความบันเทิงเพื่อดึงดูด ความสนใจจากประชาชนให้มาร่วมงานฉลองรัฐธรรมนูญ ต่อมาในพ.ศ. 2482 เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้มีการกำหนดนโยบายรัฐนิยมขึ้น โดยเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อนามัย และการแต่งกายของสตรีตามรูปแบบสากลนิยม ทำให้นางสาวไทยเป็นแบบอย่างแก่สตรีไทยให้หันมาดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกายของตนมากยิ่งขึ้น ผลการศึกษาพบว่า บทบาทของนางสาวไทยระหว่าง พ.ศ. 2477 - 2497 มุ่งเน้นไปที่การช่วยเหลือกิจการต่าง ๆ และการสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลเป็นหลัก ในขณะเดียวกันตำแหน่งที่ได้รับนั้นทำให้นางสาวไทยเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของคนในสังคม ส่งผลให้นางสาวไทยได้รับเกียรติให้เข้าร่วมงานด้านการกุศลต่าง ๆ มากมาย ในส่วนบทบาทด้านการบันเทิงและการโฆษณาสินค้านั้นปรากฎบ้าง ซึ่งล้วนเกี่ยวข้องกับงานด้านการกุศลเช่นกัน จากบทบาทดังกล่าวส่งผลให้ภาพลักษณ์ของนางสาวไทยในยุคนี้ได้รับการยกย่องเสมือนบุคคลต้นแบบของประชาชน เป็นผู้ดำรงเกียรติและศักดิ์ศรีของชาติ |
|