dc.contributor.author |
ปวินญาพัฒน์ วรพันธ์ |
|
dc.contributor.author |
จิณณวัตร เลิศประดิษฐ์ |
|
dc.contributor.author |
สรรชัย โสมนัสวงศ์วานิช |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-13T09:41:09Z |
|
dc.date.available |
2023-06-13T09:41:09Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28444 |
|
dc.description |
รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9 |
|
dc.description.abstract |
This research objective was study and analyze the royal nationalism concepts that appear in 3 Thai History textbooks of the upper secondary level (Mattayom 4-6) according to the core curriculum-based basic education. The research instrument was royal nationalism concepts documentary analysis form. The data was analyzed by using content analysis and classification analysis. The research findings revealed that the textbook history of Thailand upper secondary level, Most approaches to instill that monarchy is the heart and soul of the nation and they have made significant contributions to the variously for Thai nation. Whether it is to protect the independence and create a home city, have flourished from the past to the present. On the economy, and the well-being of the people to promoting Buddhism and culture. Including to comply with the aim of basic education core curriculum that requires students to be assigned in the regime democratic constitutional monarchy. And cause the implanted thought Thai society that the King as head of the existence of the country as well as the heart and soul of people all ages. |
|
dc.subject |
การวิเคราะห์ |
|
dc.subject |
ราชาชาตินิยม |
|
dc.subject |
แบบเรียน |
|
dc.subject |
ประวัติศาสตร์ไทย |
|
dc.subject |
Analysis |
|
dc.subject |
Royal Nationalism Concepts |
|
dc.subject |
Thai History Textbook |
|
dc.title |
การวิเคราะห์แนวคิดราชาชาตินิยมในแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย |
|
dc.title.alternative |
An Analysis of Royal Nationalism Concepts in Thai History Textbook of Upper Secondary Level |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวคิดราชาชาตินิยมที่ปรากฏในแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6) โดยศึกษาเนื้อหาในรายวิชาประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จากแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยจำนวน 3 เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์ความเป็นราชาชาตินิยมในแบบเรียนประวัติศาสตร์ไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์จำแนกประเภท ผลการวิจัยพบว่า แบบเรียนประวัติศาสตร์ไทยในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายส่วนใหญ่ ซึ่งสะท้อนว่าหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 มีความสอดคล้องกับแนวคิดราชาชาตินิยม (Royal Nationalism ) ว่าสถาบันพระมหากษัตริย์คือศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ และทรงมีคุณูปการ ต่อประเทศชาตินานานัปการ ไม่ว่าจะเป็นด้านการปกป้องเอกราช และสร้างบ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรืองตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของผู้คนในชาติ ด้านการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม เพื่อให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่กำหนดให้ผู้เรียนต้องเลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทำให้เกิดการปลูกฝังความคิดต่อคนในสังคมไทยว่าพระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศรวมทั้งเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทุกยุคทุกสมัย |
|