dc.contributor.author |
เบญจวรรณ อุปัชฌาย์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-09T09:03:19Z |
|
dc.date.available |
2023-06-09T09:03:19Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28432 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5 |
|
dc.description.abstract |
This research aimed at studying the environmentalist’s subjectification process through the working of bio-politics base on governmentality by the means of technologies of the self. For making the environmental reality, produced by social practices such as the series of event; resource allocation, monitoring, sanctioning and adjudication, that emerging subjective environmentalists. Through narrative approach. The 15 participants, the member of Khoa Raow Thian Thong Forest Committee, researched by the semi-structured dialogue. To cathergorize the collective data to be key themes. After that, making the story telling of environmentalist. The findings revealed that the Forest Committee’s regulation and the local knowledge can create the community’s environmental reality, which is shaping the unique environmental subject. |
|
dc.subject |
ฟูโกต์ |
|
dc.subject |
ชีวะการเมือง |
|
dc.subject |
การบริหารจัดการชีวิต |
|
dc.subject |
เทคโนโลยีแห่งตัวตน |
|
dc.subject |
Foucault |
|
dc.subject |
Bio-politics |
|
dc.subject |
Governmentality |
|
dc.subject |
Technology of the self |
|
dc.title |
การสร้างตัวตนของนักสิ่งแวดล้อม |
|
dc.title.alternative |
The Construction of Environmental Subject |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสร้างตัวตนของนักสิ่งแวดล้อมจากการทำงานของอำนาจในรูป ชีวะการเมือง บนพื้นฐานของการบริหารจัดการชีวิตด้วยวิธีการของเทคโนโลยีแห่งตัวตน เพื่อสร้างความเป็นจริงของสิ่งแวดล้อมที่ถูกผลิตจากภาคปฏิบัติการต่างๆ ทางสังคม อันเป็นเหตุการณ์ในกระบวนการจัดการสิ่งแวดล้อม (Series of event) ตามแนวทางของอรุณ อกราวอล ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากรที่เป็นธรรม (Allocation) การติดตามตรวจสอบ (Monitoring) การแทรกแซง (Sanctioning) และการตัดสินโทษ (Adjudication) ซึ่งทำให้เกิดตัวตนของนักสิ่งแวดล้อม จากเรื่องเล่าประสบการณ์ชีวิตด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมของชาวบ้านที่เป็นคณะกรรมการเครือข่ายป่าชุมชนเขาราวเทียนทองและบุคคลแวดล้อม จำนวน 15 คน โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการสร้างบทสนทนาตามแนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้าง เพื่อนำมาวิเคราะห์ให้เห็นประเด็นหลักของเรื่องราวต่างๆ จากผู้เล่าหลายๆ คน จากนั้นจึงทำการสร้างเรื่องราวความเป็นนักสิ่งแวดล้อมขึ้นมาใหม่จากเรื่องเล่าเหล่านั้น ผลการวิจัยพบว่า ปฏิบัติการด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมสามารถบ่มเพาะความเป็นนักสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนท้องถิ่นขึ้นมาได้ จากการทำงานของอำนาจในรูปของการกำหนดกฎเกณฑ์การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยคณะกรรมการป่าชุมชนซึ่งเชื่อมโยงกับความรู้ที่เกิดจากการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนมาเป็นระยะเวลานานสั่งสมเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา จนกลายเป็นความจริงที่ชุมชนให้การยอมรับ ซึ่งความจริงดังกล่าวได้เข้ากำกับตัวตนของชาวบ้านและสร้างนักสิ่งแวดล้อมที่มีลักษณะเฉพาะขึ้นมา |
|