dc.contributor.author |
ศิพิมพ์ ศรบัลลังก์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-09T09:03:19Z |
|
dc.date.available |
2023-06-09T09:03:19Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28429 |
|
dc.description |
การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5 |
|
dc.description.abstract |
The main purpose of this article is to study a perception of Thailand’s government towards migrant workers from Myanmar, the largest numbers of migrant workers in Thailand. The perception towards Burmese migrant workers, as observed, is quite distinct from perception towards migrants from any other neighboring countries. This happens because of the fact that the government perceives those migrant workers with fear and suspicion which doesn’t only rooted from its large amount of numbers in a country but also from other factors that shape the perception toward Burmese migrant workers into what we call “threat perception”. The study finds that those significant factors contributing Thai government to perceive Burmese migrant workers as “threat” include with 1) Present situation 2) Historical experience 3) Cultural difference 4) Behavior of migrant workers and 5) Leaders’ anxiety |
|
dc.subject |
แรงงานพม่า |
|
dc.subject |
ความหวาดระแวง |
|
dc.subject |
ภัยคุกคาม |
|
dc.subject |
Burmese Migrant Workers |
|
dc.subject |
Fear |
|
dc.subject |
Threat Perception |
|
dc.title |
แรงงานพม่าในมุมมองของรัฐไทย : ความหวาดระแวงที่นำไปสู่ปัญหาความมั่นคง |
|
dc.title.alternative |
A Threat Perception of Thai Government towards Burmese Migrant Workers |
|
dc.type |
Article |
|
dc.description.abstractthai |
บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของรัฐไทยที่มีต่อแรงงานพม่า เนื่องจากรัฐไทยได้กลายเป็นประเทศปลายทางที่สำคัญของแรงงานอพยพข้ามชาติจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว กัมพูชา และพม่ามานานหลายทศวรรษนับตั้งแต่พ.ศ.2531 โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงานอพยพจากประเทศพม่าที่มีจำนวนมากที่สุด อย่างไรก็ตาม เป็นที่น่าสังเกตว่ามุมมองที่รัฐไทยมีต่อแรงงานพม่านั้นแตกต่างจากมุมมองต่อแรงงานอพยพจากประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ กล่าวคือ รัฐไทยมีความหวาดระแวงต่อแรงงานพม่าซึ่งมิได้เกิดจากการมีแรงงานพม่าเป็นจำนวนมากเท่านั้น ทว่ามีรากฐานมาจากปัจจัยหลายประการซึ่งหล่อหลอมให้รัฐไทยมีความรู้สึกหวาดระแวงแรงงานพม่า หรือพูดให้ชัดกว่านั้นก็คือมีทัศนะต่อแรงงานพม่าในฐานะภัยคุกคามต่อความมั่นคงของรัฐ ทั้งนี้ จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ทำให้รัฐไทยหวาดระแวงแรงงานพม่านั้นประกอบไปด้วย 1) เหตุการณ์ในปัจจุบัน 2) ความทรงจำทางประวัติศาสตร์ 3) ความแตกต่างทางวัฒนธรรม 4) พฤติกรรมของแรงงานพม่า และ 5) ความวิตกกังวลของผู้นำ โดยปัจจัยทั้งห้าประการนี้มีส่วนสำคัญในการบ่มเพาะความรู้สึกหวาดระแวงของรัฐไทยที่มีต่อแรงงานพม่ากระทั่งพัฒนาไปสู่การที่รัฐไทยมี “Threat Perception” ต่อแรงงานพม่า ส่งผลทำให้รัฐไทยมองว่าแรงงานพม่าที่อพยพเข้ามาทำงานเหล่านี้คือภัยคุกคาม แม้ว่าในความเป็นจริงสถานภาพของแรงงานพม่าอาจมิได้เป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของรัฐไทยก็ตาม |
|