dc.contributor.advisor |
ฐิติมา อังกุรวัชรพันธุ์ |
|
dc.contributor.advisor |
อัญชัญ ตัณฑเทศ |
|
dc.contributor.author |
ณัฐชยา เกตุแก้ว |
|
dc.contributor.author |
ดวงทิพย์ นากระโทก |
|
dc.contributor.author |
ปิยรัตน์ วงษ์วัชรพร |
|
dc.contributor.author |
พาณิภัค ศรีสาผา |
|
dc.contributor.author |
พิชกานต์ ปทุมบาล |
|
dc.contributor.author |
ภารวี แสนวงษ์ |
|
dc.contributor.author |
รุ่งนภา เชื้อนาวัง |
|
dc.contributor.author |
อาทิตยา เวียงวิเศษ |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-02T09:18:59Z |
|
dc.date.available |
2023-06-02T09:18:59Z |
|
dc.date.issued |
2560 |
|
dc.identifier.uri |
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28401 |
|
dc.description.abstract |
The research on “The development of Cultural tourism route along MRT Purple Line” aims to study the opinion in terms of the development of cultural tourism route along MRT Purple Line among visitors and Thai people who used to get on MRT purple train. The samples were 385 people by using questionnaires. After that, the gathering data were analyzed as a quantitative research method for instance frequency, percentage, mean and standard deviation.
The result found that most of the samples were female with age between 15-24 years old, graduated bachelor’s degree, and live in Nonthaburi province. Most of the samples used to travel by the MRT purple Line between 1-3 times. Moreover, most samples usually traveled by themselves using public transportations between 6.00 – 10.59 a.m. |
|
dc.language |
th |
|
dc.publisher |
คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม |
|
dc.subject |
เส้นทางการท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
รถไฟฟ้าสายสีม่วง |
|
dc.subject |
Cultural tourism |
|
dc.subject |
Tourism route |
|
dc.subject |
MRT purple line |
|
dc.title |
แนวทางการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง |
|
dc.type |
Working Paper |
|
dc.description.abstractthai |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ที่มีประสบการณ์ในการใช้บริการ
รถไฟฟ้าสายสีม่วงต่อการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง และเพื่อหา
แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง โดยการเก็บแบบสอบถาม
จากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 385 คน เพื่อนาผลที่ได้มาวิเคราะห์สถิติโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 15 - 24 ปี อยู่ในช่วง
วัยรุ่นตอนต้นและตอนปลาย มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีเป็นส่วนมาก พักอาศัยอยู่ที่จังหวัด
นนทบุรี ซึ่งพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยเดินทางโดยใช้บริการ
รถไฟฟ้าสายสีม่วงเพียง 1 – 3 ครั้ง ส่วนมากนิยมเดินทางโดยรถโดยสารสาธารณะเช่นรถเมล์มากที่สุด
เป็นการเดินทางคนเดียวเพียงลาพังในเวลาช่วงเช้าตั้งแต่เวลา 06.00-10.59 น.
ผู้วิจัยมีความเห็นว่าแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามแนวรถไฟฟ้าสายสีม่วง
ควรจัดทาเส้นทางระยะยาว เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายทางการคมนาคมให้แก่ผู้ใช้บริการ มีค่าบริการที่
คุ้มค่ากับเส้นทางรวมทั้งจัดให้มีรถบริการรับส่งระหว่างสถานีรถไฟฟ้ากับแหล่งท่องเที่ยว เพื่อให้เข้าถึง
ง่ายมากขึ้น และควรมีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกให้เพียงพอต่อการให้บริการ และเพิ่มสิ่งที่ควรมี เช่น
ห้องสุขา หรือ รถรับส่งระหว่างสถานีกับแหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น |
|