dc.contributor.advisor | ชัยวัชร พรหมจิตติพงศ์ | |
dc.contributor.author | กนกวรรณ โอภาสวรรัตน์ | |
dc.contributor.author | กมลรัตน์ วงศ์แสงทิพย์ | |
dc.contributor.author | จิรัชฌา งามเลิศดนัย | |
dc.contributor.author | ฐิตารีย์ จารุเกษตรวิทย์ | |
dc.contributor.author | ณัฎฐ์ จารียานุกุล | |
dc.contributor.author | นครา วงษ์สนิท | |
dc.contributor.author | ภัทราภรณ์ สำเภาเงิน | |
dc.contributor.author | ไรวินท์ ลียวัฒนานุพงศ์ | |
dc.date.accessioned | 2023-06-02T09:18:59Z | |
dc.date.available | 2023-06-02T09:18:59Z | |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28397 | |
dc.description.abstract | The Guideline of Coastal Tourism Management in Koh-SamaehSarn, Chonburi Province’s purpose were1) to study context of coastal tourism. 2) to study situation of coastal tourism. 3) to develop the guideline to manage coastal tourism at KohSamaesarn, Chonburi Province. Semi-structured interwiew was using for interview tourism management stakeholder at KohSamaesarn, and questionnaire was using for collecting data of 400 sample. Data were analyzed by using statistically program, statistical analyzed in term of Frequency, Percentage, Mean and standard deviation. The results of the study were as follow:Purpose of tourists’s travel havior were relaxing, interested in diving and snorkeling activities, mostly travel by private cars as group of friends, and tourist received information from social media the most. Tourist satisfied in the coastal tourism management KohSamaesarn, Chonburi Province. In high level in each part as the followings: attractions, ability to access, facilities, activities, and management. Tourist had opinions that effect from tourism to resources in every part was in medium level and tourist had opinion that community’s stakeholder had paticipate in every part in high level. Suggestions and guideline of coastal tourism management at KohSamaesarn, Chonburi Province include with increasing efficiency of public relations about KohSamaesarn, both of the beautiful scenic and tourism activities via social medias, consider suitably to discount passenger ship fare and not over the standard price, increase public health system such as toilet. | |
dc.language | th | |
dc.publisher | คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | |
dc.subject | การจัดการการท่องเที่ยว | |
dc.subject | การท่องเที่ยวทางทะเล | |
dc.subject | เกาะแสมสาร | |
dc.title | แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวทางทะเล เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี | |
dc.type | Working Paper | |
dc.description.abstractthai | การวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวทางทะเล เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี มี จุดมุ่งหมายของการวิจัย เพื่อศึกษาบริบททางการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเล สถานการณ์การท่องเที่ยว ชายฝั่งทะเล และเพื่อหาแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวชายฝั่งทะเลเกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี โดยใช้ แบบสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการท่องเที่ยวบนเกาะแสมสาร และ แบบสอบถาม นักท่องเที่ยว จานวน 400 คน เป็นเครื่องมือ โดยนาข้อมูลที่เก็บรวบรวบมาประมวลผลด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า การเดินทางของนักท่องเที่ยวมีวัตถุประสงค์เพื่อท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อน ใจ มีความสนใจกิจกรรมดานาชมปะการัง นิยมเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวเป็นกลุ่มเพื่อน และ นักท่องเที่ยวจะได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อโซเชียลมีเดียมากที่สุด โดยนักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจใน แนวทางการจัดการการท่องเที่ยวทางทะเล เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี ในทุกๆด้านอยู่ในระดับมาก ดังนี ด้านความดึงดูดใจ ด้านความสามารถในการเข้าถึง ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านกิจกรรม และด้านการจัดการ ซึ่งนักท่องเที่ยวมีความคิดเห็นว่าผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อทรัพยากรการ ท่องเที่ยวในทุกๆด้านอยู่ในระดับปานกลาง และนักท่องเที่ยวมีความเห็นว่าชุมชนมีส่วนร่วมในทุกๆ ด้านในระดับมาก ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดการการท่องเที่ยวทางทะเล เกาะแสมสาร จังหวัดชลบุรี คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของเกาะแสมสาร ทั งด้านความสวยงามของ ทัศนียภาพ และกิจกรรมทางการท่องเที่ยว ผ่านช่องทางสื่อโซเชี่ยลมีเดีย มีการพิจารณาปรับลดอัตรา ค่าบริการเรือโดยสารให้มีความเหมาะสมและไม่รู้สึกว่าราคาเกินมาตรฐาน เพิ่มการบริการระบบ สาธารณสุข เช่น ห้องน้ำ |